Page 105 -
P. 105

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          98    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค


                           (13)                σ                          σ                   σ


                                        O      R                   O      R            O      R

                                               N      Co                  N      Co           N      Co


                                          C     C      V     V       C      C   V   C   C        V      V  C


                                       [p      r         a   p]               [b   a           m]      [ r    a   p]

                                        “ปราบ”                     “บํา”               “ราบ”

                                                 (  โดยที่     p                         b    )

                                               ความแตกตางของพยัญชนะเสียงควบกล้ําทั้ง 2  ประเภทในตําแหนงพยัญชนะ
                          ตน (onset)  ตางกันที่โครงสรางของพยัญชนะตน (onset)  ในระดับ CV-tier  ซึ่งในทฤษฎีสัทวิทยาอัตภาค
                          ถือวา CV-tier หรือชั้นสวนพยัญชนะ-สระนี้เปนแกน (core) ที่ยึดสัทลักษณตางๆ ของเสียงเขาไวดวยกัน


                                               9.3.4.2  พยัญชนะทายพยางค ดังที่กลาวขางตนวาโครงสรางชั้นผิวของ

                                                      พยางคไทยมีพยัญชนะทายพยางคไดอยางมากที่สุดเสียงเดียว แตเมื่อ
                                                      เรามาพิจารณาในระดับลึก (Underlying Form) ของพยางคในคําแต
                                                      ละคําแลว เราพบวาแทจริงในภาษาไทยเรามีพยัญชนะทายพยางคได

                                                      มากกวา 1 เสียง แตเสียงที่เราออกไดในชั้นผิวจริงๆ นั้นมีไดเพียง 1
                                                      เสียงตอพยางค เสียงที่กล้ําทายพยางคจะแสดงออกในชั้นผิวจริงๆ นั้น
                                                      มีไดเพียง 1 เสียงตอพยางค เสียงที่ควบกล้ําทายพยางคจะแสดงออก

                                                      ในชั้นผิวใหเราไดยินก็ตอเมื่อมีการเติมเสียงสระทําใหเกิดเปนพยางค
                                                      ใหมขึ้นมา ตัวอยางเชน


                           (14)                [ja¸k]              [ja¸ksa½:]     หรือ    [ja¸ksi½:]
                                               “ยักษ”             “ยักษา”             “ยักษี”


                                                                     h
                                                h
                                                                       h
                                               [p a¸t]             [p a¸tt a¸!na:]
                                               “พัฒน”             “พัฒนา”

                                 ในระดับลึก ในพจนานุกรมในสมองของเรา คําวา  [ja¸k]  และ  [p a¸t]   มีโครงสรางดังนี้
                                                                                  h
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110