Page 109 -
P. 109
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
102 สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค
(20) σ σ σ
O R O R O R
ø N Co N Co
C C V C C C V C
s t i ! [ s t i !]
ในการรับรูของเรา เราจะมีรูปแบบ [sBti!] หรือ [sti!] เปนเรื่องที่จะตองศึกษาคนควา
พิสูจนกันตอไป
9.4 การเนนพยางคและจังหวะในภาษาไทย
การเนนพยางค (stress) คือการเปลงเสียงที่ใชพลังมากกวาปรกติสําหรับพยางคที่เนน
ทําใหพยางคนั้นเดนกวาพยางคอื่นๆที่ไมเนน ในการเนนพยางคนั้นมักจะมีการทํางานของกลามเนื้อเสน
เสียงมากกวาปรกติ พยางคนั้นจึงมักจะมีเสียงดังและเสียงสูงกวาปรกติ รวมทั้งมีเวลายาวนาน (length)
กวาปรกติดวย (Ladefoged, 1993: 249-250)
เฮนรี่ สวีท (Henry Sweet, 1875-76) ไดใหหลักการเกี่ยวกับจังหวะในภาษาพูดของ
มนุษยวา มีแนวโนมที่จะมีจังหวะที่มีการเนนพยางคและไมเนนพยางคสลับกันไปเปนระยะๆเทาๆกัน
(rhythmic alternation) ซึ่งอีลิสซาเบ็ธ เซลเคิรก (Selkirk, 1984) เชื่อวาจังหวะเนนกับไมเนน นี้มีอยูในทุกๆ
ภาษา แตอาจจะแสดงรูปแบบในลักษณะที่แตกตางกัน
แดเนียล โจนส (Jones, 1964) และ เคนเน็ธ ไพค (Pike, 1945) ตางตั้งขอสังเกตวา
ภาษาอังกฤษมีชวงระยะของการเนนพยางคเปนจังหวะเทาๆ กัน และพยางคที่ไมเนนที่อยูระหวางพยางค
ที่เนนนั้นจะมีชวงเวลาของแตละพยางคสั้นหรือยาว ขึ้นอยูกับจํานวนพยางคที่ไมเนนนั้นคือถามีจํานวน
พยางคที่ไมเนนนอย แตละพยางคก็จะมีเวลานานกวาเมื่อมีจํานวนพยางคที่ไมเนนมากจํานวนในถอยความ