Page 111 -
P. 111

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          104    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค


                                        จ.  ในคํา 4  พยางค ถาพยางคแรกไมไดเปน Ca  แตพยางคที่สองเปน Ca-syllable
                                           การเนนพยางคจะอยูในรูปดังนี้




                                        ฉ.  ในกรณีที่พยางคแรก พยางคที่สองตางก็ไมเปน Ca-syllable  Luksaneeyanawin
                                            (1993)  จัดลําดับ น้ําหนักพยางค (จากมากไปหานอย โดยน้ําหนักมากดึงดูดการ
                                            เนนพยางค (attract stress) กอน) ดังนี้


                                        1)      CV (V) C      >   CVV
                                                      S
                                               CV(V) N

                                        2)     CV(V)N   >   CV(V)C    >   CV !
                                                                S
                                               (N = nasals, C  =  stops)
                                                         S

                                        สําหรับคําประสม กฎเกณฑจะแตกตางกันไป
                                        ตัวอยางเชน (จาก Luksaneeyanawin 1993: 257)


                          (22)                 น้ําสม

                                               น้ําสมคั้น

                                               กับขาว

                                               ตูกับขาว


                            9.4        ทฤษฎีสัทวิทยาโครงสรางการเนนพยางค  (Metrical phonology)

                                        ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค พัฒนามาจากลิบเบอรแมน และพริ้นส (Liberman and

                          Prince 1977) และพริ้นส (Prince 1979) จากสํานัก MIT เปนทฤษฎีวาดวยการเนนพยางคในระบบคํา โดย
                          การเขียนแผนภูมิโครงสรางหนวยเสียงระดับตางๆ (build metrical tree) เพื่อแสดงหนวยที่เนน และหนวย
                          ที่ไมเนน เพื่อหาพยางคที่เนน (stress) ในระดับตางๆ ของคํา ตั้งแตพยางคเนนเดนที่สุด (word stress หรือ

                           primary stress) จนถึงพยางคไมเนน (unstressed syllable)

                                        โครงสรางการเนนพยางคจัดเปนอีกมิติหนึ่งของเสียงซึ่งมี CV-tier  เปนแกน คือใน
                           ระดับชั้นสวนของพยางค (syllable tier) ตามทฤษฎีอัตภาคโครงสรางพยางคและโครงสรางการเนนพยางค
                          เปนโครงสรางที่ไมจัดอยูในชั้นสวน (tier) ของอัตภาค (autosegment) แตจัดเปนโครงสรางในอีกมิติหนึ่ง

                          (another plane) หนวยเสียงระดับตางๆ มีดังนี้
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116