Page 106 -
P. 106
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค 99
(15) ก. σ ข. σ
O R O R
N Co N Co
C V C C C V C C
h
h
/ j a k s/ /p a t n/
“ยักษ” “พัฒน”
เสียง /s / ใน /ja¸k(s)/ และเสียง /n/ ใน /p a¸t (n)/ ไมไดเชื่อมตอกับโครงสรางพยางค
h
h
ของคํา ฉะนั้นเมื่อเราออกเสียงเปนคําโดด [ja¸k] หรือ [p a¸t ] เสียงซึ่งไมมีตัวเชื่อมกับโครงสราง
h
h
ของพยางคก็จะถูกลบหรือสูญไป (delete) โดยกฎของโครงสรางเสียงทายพยางคในภาษาไทย
(คือใน phonetic form เรามีโครงสรางที่มีเสียง coda ไดเพียงเสียงเดียว) เสียงที่มีอยูในระดับลึก
(underlying form) แตไมปรากฎในชั้นผิวในคําโดดนี้ เราเรียกวาเปนเสียง “สวนเกินของพยางค”
(extrasyllabic) คือเปนสวนที่ไมมีพยางครองรับ และเสียงนี้หากลอยตัวไมไดไปผสมกับสระในการ
ประสมประสานคํา ก็จะสูญไปในชั้นผิว ดังนี้
(16) σ
O R
N Co
C V C C
[j a¸ k s] [ja¸k]
ø
แตในการผสมผสานคํา เสียงนี้จะเกิดโครงสรางเปนพยัญชนะตน (onset) ของพยางค
ใหม เราจึงไดยินเสียงนี้เปลงออกมารวมกับพยางคใหม ดังนี้