Page 107 -
P. 107

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          100    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค


                           (17)              σ            σ               σ                                  σ


                                       O         R                O     R      O   R      O   R
                                         N       Co         N             N      Co           N


                                       C        V        C       C     +     V       V                 C   V   C   C       V       V


                                   j       a¸       k    s       a              [  j   a¸   k   s   a  ]
                                                                          “ยักษา”


                                               “พยัญชนะสวนเกินของพยางค (extrasyllabic  consonant)  ก็คือเสียงควบกล้ํา
                           ทายพยางคที่อยูในระดับลึกของคํา ซึ่งในกรณีที่มีเสียงเดียวก็คือ เสียงที่เราเขียนดวยตัวการันต ในการ

                          เขียน-การอานของเรานั่นเอง

                                        9.3.5  การลดพยางค  (Syllable Reduction)
                                               การลดรูปพยางคในภาษาไทยมี 2 รูปแบบดังนี้

                                               9.3.5.1  การลดรูปสระ   (Vowel Reduction)
                                                            พยางคที่มีโครงสรางเปน CV! และเปนพยางคที่ไมเนน
                                                            (unstressed syllable) จะลดรูปสระจากเสียงเต็ม  a   > ‹ ,

                                                             i > +  (พรอมกับมีการสูญเสีย glottal stop ทายพยางคและสูญเสีย
                                                            เสียงวรรณยุกต) ตัวอยางเชน


                          (18)          ra¸tt aº!ba:n       >      ra¸tt aºba:n        “รัฐบาล”
                                                                      h
                                           h
                                                                      h
                                                            >      ra¸tt aba:n
                                                                      h
                                                            >      ra¸tt ‹ba:n

                                 หรือ   ra:tÛ*!ni:          >      ra:tÛ*¸i ¸ni:       “ราชินี”
                                                            >      ra:tÛ*ini:
                                                            >      ra:tÛ*+ni:
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112