Page 104 -
P. 104

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                               สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค  97


                                        ทั้งนี้เนื่องจากเราไมสามารถแยกเสียงทั้งสองในตําแหนง onset  ออกจากกัน คือเราไมมี
                           วิธีแผลงคําใดๆ ที่จะแยกเสียงทั้ง 2 ออกจากกันเปนสองพยางคดังเชน เสียงกล้ําไมแทขางลางนี้


                                                9.3.4.2   เสียงควบกล้ําไมแท   (CC-Cluster)
                                                      คือเสียงพยัญชนะควบกล้ําที่มีเสียงทั้งสองเปนอิสระตอกัน โดย

                                                      แยกกันสัมพันธกับ C-slot ใน CV-tier ฉะนั้นเราจึงสามารถแผลงคํา
                                                      จากคําที่มีเสียงพยัญชนะตนชนิดนี้ แลวไดคําสองพยางคที่แยกเสียง
                                                      พยัญชนะทั้งสองออกจากกัน เราเขียนแผนภูมิไดดังนี้

                                                      (Tumtavitikul, 1992)

                           (11)                             σ


                                                      O      R


                                                           C      C


                                                       [ t    r  ….

                                        เชนเสียง [tr]  ในคําวา  “ตรวจ”   [truº‹t]  หรือเสียง [pr]  ในคําวา “ปราบ”  ในคําแผลง

                          เราไดเสียงสองเสียงแยกจากกันดังนี้

                           (12)                σ                          σ                   σ


                                        O      R                   O      R            O      R

                                               N      Co                  N      Co           N      Co


                                         C      C     V      V         C      C   V   C   C        V     V   C


                                     [ t       r   u        ‹    t ]  [t   a     m]    [r       u     ‹  t]

                                            “ตรวจ”                             “ตํา”          “รวจ”



                          หรือ
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109