Page 100 -
P. 100

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                               สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค  93



                                 โดยมีลักษณะของสวนทายพยางค (rime) เหมือนกันในแตละคูสัมผัส ดังนี้

                                               σ
                           (1)                              สําหรับ “โลง” และ “โยง”
                                        O      R


                                                  [o   0]


                                               σ
                           (2)                              สําหรับ “ผัส”  และ  “จัด”
                                        O      R            “ญัติ” และ  “จัด”


                                                 [a   t]

                                               σ
                           (3)                              สําหรับ “ไว”  และ  “ให”

                                        O      R

                                               [a   j]

                                 ในทํานองเดียวกัน การสัมผัสอักษรในบทกลอนเปนการสัมผัสพยัญชนะตนพยางค (onset)  เชน
                          ตัวอยางจาก กําชัย ทองหลอ (2509: 437)


                                                      แลลิงเลนลอ        ลางลิง
                                               พาเพื่อนเพนพานพิง        พวกพอง

                                               ตื่นเตนไตตอติง           เตี้ยต่ํา
                                               กนกูกันกึกกอง           แกะเกี้ยวกวนกัน


                                        ลักษณะสัมผัสอักษรก็คือ มีพยัญชนะตนพยางค (onset) เหมือนกัน ดังนี้
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105