Page 112 -
P. 112
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค 105
(1) พยางค (syllable) เปนหนวยระดับที่หนึ่ง
(2) กลุมพยางค (metrical foot) เปนหนวยระดับที่สอง (สูงกวาระดับที่หนึ่ง)
(3) คํา (word) เปนหนวยระดับที่สาม (สูงกวาระดับที่สอง)
โครงสรางในแตละระดับ มีการแตกแขนงของแตละหนวยเปนกิ่งหนัก (strong node)
และกิ่งเบา (weak node) โดยกิ่งหนักยึดหนวยที่เนนในระดับต่ําถัดลงมา และกิ่งเบาจะยึดหนวยที่ไมเนนใน
ระดับต่ําถัดลงมา
การเนนพยางคในระดับพยางคขึ้นอยูกับน้ําหนักของสวนทายพยางค (syllable rime)
แตก็มีภาษาที่มีการเนนพยางคในลักษณะสลับพยางค (alternate syllable)
สวนการเนนในระดับกลุมพยางค (foot) และในระดับคํา (word) ขึ้นอยูกับลักษณะ
ของภาษา แตละภาษาจะมีลักษณะที่เปนเอกลักษณของตนเอง โดยมีแบบแผนโครงสรางใหญๆ ดังนี้
9.5.1 ระดับกลุมพยางค (Metrical foot)
การแตกแขนงของกลุมพยางค (foot tree) มีได 3 รูปแบบดังนี้
9.5.1.1 มีพยางคเนนเปนพยางคสุดทาย (ขวาสุด) ภายในกลุม
(Right-headed foot tree)
∑
w s
σ σ
∑ = foot
S = strong node
W = weak node
σ = syllable