Page 117 -
P. 117

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          110    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค


                                        กฎการสูญเสียวรรณยุกต  (tone deletion rule)
                                               มีการสูญเสียวรรณยุกต ในพยางค CV ที่ไมเนนพยางค




                           (28)                T                   ø     /    CV    ] σ
                                               (T = tone)
                                                                          [-stress]


                                        กฎการสูญเสียสระ(Vowel deletion rule)
                                               มีการสูญเสียสระในพยางคที่ไมเนน ซึ่งมี s เปนพยัญชนะตน (onset)


                           (29)                v                   ø      / [s          ] (optional)


                                        เปนที่สังเกตวา การลดรูปพยางคในลักษณะตางๆ เหลานี้ในขอ (26)-(29) เกิดกับพยางค
                          ที่ไมเนนเทานั้น

                                        ตามทฤษฎีสัทวิทยาโครงสรางการเนนพยางค ภาษาไทยจัดเปนภาษาที่นับน้ําหนัก
                          พยางค (quantity  sentitive  language)  โดยมีพยางคหนัก เปนพยางคเนนเสมอ และพยางคไมเนนที่อยู

                           ระหวางพยางคเนน 2 พยางค จะจัดเขาเปนกลุมเดียวกันกับพยางคเนนที่อยูทางขวาดังนี้

                           (30)                             ∑             ∑      ระดับกลุมพยางค (foot level)


                                                                                 ระดับพยางค (syllable level)

                                                            σ      σ      σ

                                        เสนตรงแสดง การเนน เรียกวา กิ่งหนัก (strong node)
                                        เสนเฉียงแสดง การไมเนน เรียกวา กิ่งเบา (weak node)
                                        พยางคที่ยึดโดยเสนตรง (strong node) จากกลุมพยางค (foot tree, ∑) จะตองเปนพยางค

                          หนัก และพยางคที่ยึดโดยเสนเฉียง (weak node) จากกลุมพยางค (foot tree, ∑) จะตองเปนพยางคเบา

                                        เนื่องจากพยางคทายคําในภาษาไทยจะเปนพยางคเนนเสมอ เราจึงมีขอจํากัดวา พยางค
                           สุดทายจะตองยึดกับกิ่งหนัก (strong  node)  เสมอ นั่นคือระหวาง CV  CV]   ซึ่งเปนพยางค 2  พยางค
                                                                                    W
                           สุดทายของคํา                            ∑
                                        เราจะมีกลุมพยางคในรูป  cv  cv]  เสมอ ในการจัดกลุมพยางคภาษาไทย มีกฎดังนี้
                                                                W
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122