Page 119 -
P. 119

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          112    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค


                                            ตัวอยางเชน
                           (35)

                                                                          W


                                               ∑                      ∑    ∑



                                               σ                     σ       σ        σ  σ
                                               pho¸t                 t⎭a    naa    nu   krom  “พจนานุกรม”

                                               พยางคที่เดนที่สุด (word stress) ก็คือพยางคสุดทาย   [krom]

                                               และเราไดรูปแบบการเนนพยางค ดังนี้

                                  ซึ่งตรงกับรูปแบบการเนนพยางค ในลีลา careful speech ของ Luangthongkum (1977)

                          9.7    การลดรูปพยางค (Syllable reduction)


                                        การเขียนแผนภูมิโครงสรางการเนนพยางคโดยมีกฎการจัดกลุมพยางค (foot  tree)

                          และกฎการจัดการเนนกลุมพยางคระดับคํา (word tree) มีพยางคอยูในระดับต่ําสุดของโครงสรางนี้พยางค
                          ที่เนนคือพยางคที่ยึดโดยกิ่งหนัก (strong node) ของกลุมพยางค (foot tree) โดยมีพยางคที่ยึดโดยกิ่งหนัก
                          (strong node) ในระดับคํา (word tree) เปนพยางคเนนที่เดนที่สุด จากโครงสรางนี้ เราจึงรูไดวาพยางคเบา

                           (weak) คือพยางคที่ยึดโดยกิ่งเบา (weak node) ของกลุมพยางค (foot tree) เปนพยางคไมเนน (unstressed
                          syllable)  พยางคไมเนนเหลานี้จะมีพยางคที่มีการลดรูปพยางคตามกฎตางๆ ที่กลาวไวขางตน  โดยเฉพาะ

                          อยางยิ่งในวัจนลีลาแบบ casual speech พบการลดรูปพยางคที่ไมเนนเหลานี้มากที่สุด พยางคอันดับถัดไป
                           ที่อาจจะมีการลดรูปในวัจนลีลา casual speech  ก็คงจะเปนอันดับที่มีกิ่งหนัก (strong  node)  ยึดในระดับ
                           กลุมพยางค (foot tree) แตมี กิ่งเบา (weak node) ยึดในระดับคํา (word tree) คือมีการเนนพยางคในระดับ

                          สอง (secondary  stress)  สวนพยางคที่หนักแนนที่สุดที่จะไมมีการลดรูปเลย คือพยางคที่ยึดโดยกิ่งหนัก
                           (strong node)  ทั้งในระดับกลุมพยางค (foot)  และในระดับคํา (word  tree)  คือพยางคที่เดนที่สุด

                           (มี primary stress) ของคํานั่นเอง
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124