Page 122 -
P. 122
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค 115
หรือ
(41) W
[W W]
∑ ∑ ∑ ระดับคําประสม
(∑-percolation)
ตู กับ ขาว
โดยการนับกิ่งหนัก (strong node) และกิ่งเบา (weak node) จะพบวาในโครงสราง
การเนนพยางคของคําประสมเปนดังนี้
(42) น้ําสมคั้น
st
nd
(2 ) (1 ) stress
(43) ตูกับขาว
(2 ) (1 ) stress
nd
st
ซึ่งตรงกับการจัดการเนนคําของ ลักษณียนาวิน (1993) ในการสรางคําประสมนี้
เรามี cyclical application ของกฎตางๆ รวมทั้งกฎการจัดพยางคหนัก-เบาดวย เพราะเปนการสรางคําใหม
จากคําสองคํา ฉะนั้นกฎการจัดพยางคหนัก-เบาที่เสนอขางตนยังคงใชได (valid) แตตองจัดการประสมคํา
เปนเรื่องของระบบคํา (morphology) ซึ่งมีปฏิกิริยา (interaction) กับระบบเสียง (phonology) ในคลังศัพท
(lexicon) ทําใหเกิดวงจรของกฎเกณฑตางๆ (cyclic rules) ในระดับการประสมคําขั้นตางๆ กอนที่จะออก
เสียงเปนรูปธรรม (phonetic form) ในชั้นผิว ดังแผนภูมิขางลางนี้ (ดูบทที่ 10)
Lexicon
Morphology Phonology
Phonetic form
ภาพที่ 9.8 แผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวางระบบคําและระบบเสียงในพจนานุกรมสมอง