Page 127 -
P. 127

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                           120    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                    บทที่ 10  พจนสัทวิทยา


                                        นอกจากนี้ ยังเปนที่สังเกตอีกดวยวา กฎการแปรเสียงที่ตองอางถึงหนวยคําหรือคําใน
                           บริบท (10.1.1 ) นั้น มีการจัดลําดับกฎในขั้นตางๆ ของการสรางคํา (level ordering) นั่นคือกฎเชนขอ (2)

                           จะเกิดในขั้นตอนที่มีการเติมตอปจจัย แตจะไมเกิดกับคําสามพยางค ที่มีรูประดับลึกเปนคําสามพยางค
                           (underived  lexical  item)    คือไมไดเกิดจากการตอปจจัยแลวจึงกลายเปนคําสามพยางค
                           เชน  (จาก Kenstowicz  1995)



                           (5)                 ivory        [aj],    ivory              *[+] (ผิด)

                                               niIhtinIale   [aj],    niIhtinIale    *[+] (ผิด)

                                        ตัวอยาง (5) บอกวา กฎ  Trisyllabic laxing  ขอ (2) ไมมีผลตอคําที่เปนคําสามพยางค
                           ในรูประดับลึก คือคําที่ไมไดเกิดจากการตอปจจัย


                                        ขั้นตอนของการตอปจจัยก็มีการจัดลําดับชั้นกอน-หลัง เชน

                           (6)                 nation  >  national  > nationalize  > nationalization
                                                      >  national  > nationality

                                                      >  *nationity  (ผิด)
                                                      >  *nationational   (ผิด)

                                        และในทุกระดับชั้นที่มีการตอปจจัย กฎการเนนพยางคและกฎการแปรเสียง (2)  ก็จะมี

                           ผลตอคําใหมที่เกิดขึ้น ในทุกขั้นตอน เชน

                           (7)                 na¸tion [ej]  >  national [æ]  > nationality [æ]  > nationalization [+]

                                        ขอสังเกตที่เกี่ยวกับพฤติกรรมในภาษาเชนนี้ บงชี้ถึงความสัมพันธระหวางกฎทางเสียง

                           กับกฎการสรางคํา และไดพัฒนามาเปนทฤษฎีพจนสัทวิทยา

                              10.2    พจนสัทวิทยา (Lexical Phonology)

                                     ทฤษฎีนี้พัฒนามาจากเอสพีอี จากการวิเคราะหการแปรเสียงในกระบวนการสรางคํา
                           (Morphophonemic   analysis)  ในภาษาอังกฤษ  เริ่มโดยนักสัทวิทยา เชนโมฮานัน (Mohanan  1982)

                           และคีปาสกี (Kiparsky  1982)  ผูเสนอการวิเคราะหการแปรเสียงในการสรางคําวาเปนกฎทางเสียงที่เกิด
                           ในพจนานุกรม หรือ คลังศัพทจําลองในสมอง (lexicon)  และควรจัดกฎเหลานี้เปนกฎการสรางคํา
                           (Lexical rules) ซึ่งแตกตางจากกฎการแปรเสียงในระดับวลีหรือประโยคซึ่งควรจัดเปนกฎในกระบวนการ

                           หลังการสรางคําแลว (post-lexical rules) คือเปนกฎระดับวลีหรือประโยค (phrasal or sentence rules)
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132