Page 126 -
P. 126
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 10 พจนสัทวิทยา 119
บทที่ 10
พจนสัทวิทยา
10.1 ความสัมพันธระหวางระบบคําและระบบเสียง
ที่มาของพจนสัทวิทยา เริ่มจากขอสังเกตที่วากฎการแปรเสียงมี 2 ประเภท คือประเภท
ที่มีหนวยคําหรือคําเปนบริบท โดยมีการแปรเสียงในลักษณะการแปรรูปหนวยคํา (morphophonemic
alternation) และประเภทที่ไมเกี่ยวของกับหนวยคํา แปรเสียงโดยมีเสียงเปนบริบท
10.1.1 การแปรเสียงโดยมีหนวยคําหรือคําเปนบริบท เชน การแปรเสียงสระในการตอ
ปจจัย (suffixation) ในภาษาอังกฤษ ตัวอยางคลาสสิคจากเอสพีอี ไดแก
Trisyllabic laxing rule ในภาษาอังกฤษ
(1) divine [aj] divinity [+]
serene [ij] serenity [ε]
profane [ej] profanity [æ]
(2) v v / cv. cv] w
[-tense]
ตามดวย vowel shift ซึ่ง กฎขอ (2) จําเปนตองอางถึงทายคํา ] w เปนบริบท ซึ่งเกิดจาก
การสรางคําใหมโดยการเติม –ity ตอทายรากศัพทเดิม ดังเชน
[[divine] ity] w [divinity] w
10.1.2 การแปรเสียงที่มีเสียงเปนบริบท ไมเกี่ยวของกับหนวยคํา หรือคํา เชน การ
แปรเสียงกักปุมเหงือก (alveolar stop) เปนเสียงกระดกลิ้น (flap) ที่เรียกวา
flapping rule ในภาษาอังกฤษ (Kenstowic< 1995)
(3) atom [4], atomic
meet meetinI [4]
what what is wronI [4]
(4) t 4 / v" v
การแปรเสียงโดยกฎขอที่ (4) นี้ ไมเกี่ยวของกับหนวยคําหรือคํา flapping rule นี้จะแปร
เสียง /t/ เปน [4] ในทุกกรณี รวมทั้งในระดับประโยคดวย เมื่อมีสระเนนและสระไมเนนเปนบริบทขาง
ซายและขางขวา ตามลําดับ ดังเชน (3)