Page 128 -
P. 128
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 10 พจนสัทวิทยา 121
การปฎิสัมพันธระหวางกระบวนการทางเสียง และกระบวนการสรางคํา ซึ่งไมไดเปน
อิสระตอกันอยางเด็ดขาดไดเปนที่สังเกตของนักภาษาศาสตรคลาสิก เชนบลูมฟลด (Bloomfield 1933)
และมารตีเนต (Martinet 1965) กอนหนานี้แลว สวนแนวคิดที่วากฎทางเสียงเกิดในพจนานุกรมจําลองใน
สมองผูพูดนั้นเริ่มจากพีเซ็ทสกี (Pesetsky 1979) และโมฮานัน ( Mohanan 1982) ซึ่งเสนอแบบจําลองคลัง
ศัพทวาประกอบไปดวยชั้นสวนหรือระดับชั้น (stratum) ตางๆ และมีกฎทางเสียงที่แปรเสียงใน
การประกอบหรือสรางคําในระดับชั้นตางๆ กฎทางเสียงในกระบวนการสรางคํา (lexical rules)
มีลักษณะเฉพาะดังสรุปใน (8) และตารางที่ 5.1
ระบบคํา (Morphology) ระบบเสียง
คําที่เก็บในคลังศัพทระดับลึก (Phonology)
(underived lexical items)
ระดับชั้นที่ 1 กฎขอที่ 1 (ขอบขาย: ระดับชั้นที่ 1,j…)
(stratum 1) (Rule 1 (domain: strata i,j…))
กระบวนการ ระดับชั้นที่ 2 กฎขอที่ 2 (ขอบขาย: ระดับชั้นที่ k…)
สรางคํา (stratum 2) (rule 2 (domain: strata k…))
(Lexical level)
.
ระดับชั้นที่ n .
(stratum n)
.
กระบวนการหลัง
การสรางคํา ระดับชั้นที่ n+1 กฎขอที่ m (ขอบขาย: ระดับชั้นที่ p,q,r)
(Post-lexical level) (stratum n+1) (rule m (domain: strata p,q,r))
วากยสัมพันธ(Syntax)
ภาพที่ 10.1 พจนานุกรมหรือคลังศัพท (lexicon)
ที่มา: Pulleyblank (1983 :2)
พนระดับชั้นสุดทายของพจนานุกรมจําลอง จะเปนคําที่เทียบเคียงกับ “phonemic level”
ของทฤษฎีโครงสราง และเปนขอมูลปอนเขาสําหรับวากยสัมพันธ ระดับที่อยูนอกพจนานุกรมนี้จัดอยูใน
ระดับหลังกระบวนการสรางคํา (post-lexical level) ซึ่งอาจจะมีกฎทางเสียง (phonological rules)