Page 120 -
P. 120

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                               สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค  113


                                        สําหรับพยางคที่มีการเนนอันดับสอง (secondary   stress)   ในวัจนลีลาแบบ
                           careful speech   เมื่อเปลี่ยนลีลาเปน casual  speech  (คือพูดเร็วขึ้น)  การลดรูปพยางคอยูในลักษณะลด

                           branching rime  ใหเปน non-branching  rime  คือ เปน CV-syllable  ดังจะเทียบไดกับตัวอยาง
                           จาก  Luangthongkum  (1977: 260-265) ดังนี้


                           (36)         ก.      W                         ข.     W



                                        ∑         ∑         หรือ                 ∑     “กรณี”




                                                [knn -    ra - nii]              [k‹ -  ra - nii]

                           รูปแบบการเนน

                           วัจนลีลา     careful speech                    casual speech

                           (37)         ก.      W                         ข.     W



                                        ∑       ∑           หรือ                 ∑     “ปริมาณ”





                                                 [pnn -   ri  -  maan]                          [p‹ - ri - maan]
                           รูปแบบการเนน

                           วัจนลีลา     careful speech                    casual speech


                                        เปนที่สังเกตวา ในการลดรูปพยางคในลักษณะ casual  speech  นั้น เรามีการจัด
                          โครงสรางใหม (re-footing) เนื่องจากน้ําหนักพยางค เปลี่ยนรูปแบบไป กลุมพยางค (foot-tree) จึงตองจัด
                          ใหม
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125