Page 118 -
P. 118
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค 111
(31) หลักการจัดกลุมพยางคภาษาไทย (foot tree)
ก. พยางคสุดทายเปนพยางคเนนเสมอ
ข. พยางคเนนทุกพยางคอยูขวามือของกลุมพยางค (right-headed foot tree)
ค. พยางคที่ไมเนนทางซายของพยางคเนน จะจัดอยูในกลุมเดียวกันกับพยางคเนน
นั้นๆ โดยไมจํากัดจํานวนพยางค (Left-ward spreading of foot tree, unbounded
foot tree)
ตัวอยางเชน
(32) ∑ ∑ ∑
σ σ σ σ σ
pho¸t t⎭a naa nu krom “พจนานุกรม”
หรือ
∑
σ σ
ka ta! “กะทะ”
เนื่องจากพยางคสุดทายของคําจะตองเปนพยางคเนนเสมอ ในระดับสูงขึ้นไปจาก
กลุมพยางคคือระดับคํา (word level) เราจึงจัด foot หรือกลุมพยางคสุดทาย ใหเปนกลุมพยางคหนัก
(strong) เสมอ และกลุมพยางคที่เหลือจะเปนกลุมพยางคเบา (weak) ในระดับ word tree ในรูปธรรม
คือการออกเสียง เราจะออกเสียงพยางคที่มีกิ่งหนัก (strong node) ยึดมากที่สุดจากระดับคํา (word-level)
จนถึงระดับกลุมพยางค (foot-level) เปนเสียงที่เนนหนักหรือเดนที่สุดของคํา (คือเปน primary stress)
สวนพยางคที่ยึดโดยกิ่งเบา (weak node) ในระดับคํา (word-level) แตยึดโดยกิ่งหนัก (strong node)
ในระดับกลุมพยางค (foot level) จะจัดเปนการเนนอันดับรอง (คือ secondary stress)
(34) หลักการจัดกลุมพยางค (word tree)
ก. กลุมพยางคสุดทาย (ทางขวาสุด) เปนกลุมพยางคเนนเสมอ
(Right-headed word tree)
ข. กลุมพยางคที่เหลือ เปนกลุมพยางคไมเนนในคําเดียวกัน
(Left-ward spreading, unbounded word tree)