Page 48 -
P. 48

ุ
                                                   ิ
                                                                               ั
                                                              ิ
                                   ิ
                                ื
                                               ์
                                            ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                       41


                              ระวี จูฑศฤงค์ และคณะ (2564) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อม
                       ที่เออต่อการเรียนรู้ของนิสิตในฟาร์มนิสิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพอศึกษา
                          ื้
                                                                                                   ื่
                                                                 ื้
                                  ึ
                       ระดับความพงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เออต่อการเรียนรู้ของนิสิตภายในฟาร์มนิสิตสาขา
                       เกษตรและสิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดล้อมชั้นปีที่ 1 - 4 จ านวน 158
                       คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามสภาพแวดล้อม 5 ด้าน ได้แก่
                       1) ด้านภูมิทัศน์ 2) ด้านอาคารสถานที่ 3) ด้านความปลอดภัย 4) ด้านการเรียนการสอน และ 5) ด้าน
                       ปฏิสัมพนธ์ระหว่างบุคคล วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
                              ั
                                                                                     ื้
                                                      ึ
                       มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความพงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมที่เออต่อการเรียนรู้ของนิสิต
                       ภายในฟาร์มนิสิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพจารณาเป็นราย
                                                                                            ิ
                       ด้าน พบว่า ด้านปฏิสัมพนธ์ระหว่างบุคคล อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการเรียนการสอน
                                           ั
                       อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านภูมิทัศน์ ด้านอาคารและสถานที่ และด้านความปลอดภัย อยู่ในระดับมาก
                                                                                         ื้
                       ตามล าดับ ทั้งนี้ผลการวิจัยสามารถน าไปเป็นแนวทางจัดสภาพแวดล้อมที่เออต่อการเรียนรู้และ
                       ปรับปรุงให้ตรงกับความต้องการของนิสิตต่อไป โดยการศึกษามุ่งเน้นศึกษาความพงพอใจของนิสิต
                                                                                            ึ
                                                                                    ิ่
                       สาขาเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษาเท่านั้น จึงจ าเป็นต้องมีการศึกษาเพมเติมโดยครอบคลุมนิสิต
                       อาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ การศึกษาควรมุ่งเน้นศึกษาประเด็นที่

                       เฉพาะเจาะจง เช่น ความร่มรื่น ความสะอาด ความหลากหลายของพนธุ์ไม้ และการจัดวาง
                                                                                      ั
                       องค์ประกอบทางภูมิทัศน์ และควรใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพควบคู่ไปกับวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ

                                                                                       ื้
                              วิไลวรรณ วิไลรัตน์ และคณะ (2564) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ภูมิทัศน์พนที่สีเขียวและความพึง
                                                                                       ื่
                                                                                                      ื้
                       พอใจของผู้ใช้บริการสวนสาธารณะ ในเขตเทศบาลนครยะลา มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาภูมิทัศน์พนที่สี
                                     ึ
                                                                                                       ื้
                       เขียวและความพงพอใจของผู้ใช้บริการ ในเขตเทศบาลนครยะลา เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน พนที่
                       ศึกษา คือ สวนสาธารณะในเขตเทศบาลนครยะลา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ใช้บริการ จ านวน 381 คน โดย
                       ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ ภาพถ่ายดาวเทียมจาก Google Earth

                       แบบสังเกต และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยการจัดท าแผนที่ ใช้สถิติค่าเฉลี่ย และส่วน
                       เบี่ยงเบนมาตรฐาน น าเสนอข้อมูลในรูปแบบของตาราง ร่วมกับการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัย
                       พบว่า ภูมิทัศน์กายภาพพนที่ที่อยู่ติดริมแม่น้ าหรือมีแหล่งน้ าเป็นบึงขนาดใหญ่  มีต้นไม้ร่มรื่น มี
                                             ื้
                                                                                   ั
                       สถานที่ขายอาหาร สะท้อนถึงภูมิทัศน์วัฒนธรรม คือ ผู้ใช้บริการนิยมมาพกผ่อน  ท ากิจกรรมร่วมกับ
                                                                                                    ุ
                       ครอบครัว นั่งเล่น และนั่งคุย ในขณะที่ภูมิทัศน์กายภาพที่มีสนามฟตบอล สนามกีฬา ลู่วิ่ง อปกรณ์
                                                                               ุ
                       ออกก าลังกาย สะท้อนถึงภูมิทัศน์วัฒนธรรม คือ ผู้ใช้บริการนิยมมาออกก าลังกาย ทั้งรายบุคคลและ
                       รายกลุ่ม ความพงพอใจของผู้ใช้บริการ พบว่า มีค่าเฉลี่ยระดับมาก คือ ศูนย์เยาวชน เทศบาลนคร
                                     ึ
                       ยะลา สวนขวัญเมือง และสนามโรงพธีช้างเผือก มีค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง คือ สนามกีฬา สวนเลียบ
                                                     ิ
                       ทางรถไฟเมืองทอง สวนมิ่งเมือง และสวนศรีเมือง มีค่าเฉลี่ยระดับน้อย คือ สวนบ้านร่ม เมื่อพิจารณา
                       เป็นรายด้าน พบว่า ผู้ใช้บริการมีค่าเฉลี่ยความพงพอใจด้านพนที่หรือสถานที่ อยู่ในระดับมาก
                                                                  ึ
                                                                             ื้
                       รองลงมา คือ ระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านอื่น ๆ ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก ด้านระบบ สาธารณูปโภค
                       ด้านการประชาสัมพนธ์ และด้านระบบรักษาความปลอดภัย โดยการศึกษานี้เน้นการศึกษาบริเวณ
                                        ั
                       สวนสาธารณะ ในเขตเทศบาลนครยะลา ดังนั้น ควรปรับให้มาใช้ในการศึกษาบริเวณที่จะท าการศึกษา
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53