Page 49 -
P. 49
์
ิ
ั
ิ
ุ
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
42
ื้
ภายในมหาวิทยาลัย เพอปรับปรุงและจัดการพนที่สีเขียวภายในมหาวิทยาลัยให้เหมาะสมกับความ
ื่
ต้องการของนิสิตและบุคลากร การสร้างพนที่สีเขียวและสิ่งอานวยความสะดวกที่น่าพอใจอาจเสริม
ื้
ความสัมพันธ์และความเชื่อมั่นในมหาวิทยาลัย
คณกร สว่างเจริญ และคณะ (2564) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพงพอใจของผู้ใช้บริการต่อ
ึ
ศูนย์บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One-Stop Service) ของส านักงานบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ึ
ื่
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาความพงพอใจของผู้ใช้บริการศูนย์บริการแบบ
จุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ของส านักงานบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้าน
สมเด็จเจ้าพระยา โดยส ารวจจากตัวอย่างประชากร ได้แก่ ผู้มารับบริการส านักงานบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาระหว่างเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2564 จ านวน 544
คน (นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา) เครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ และใช้วิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ภาพรวมระดับความพงพอใจของ
ึ
ผู้ใช้บริการศูนย์บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ของส านักงานบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาอยู่ในระดับพึงพอใจมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อปรากฏว่า
ความพงพอใจด้านบุคลากรมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาด้านสถานที่/สิ่งอานวยความสะดวก ด้าน
ึ
ช่องทางการให้บริการ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการบริการ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ตามล าดับ โดย
ึ
การศึกษานี้มุ่งเน้นศึกษาความพงพอใจของผู้ใช้บริการต่อศูนย์บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One-
Stop Service) ของส านักงานบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ดังนั้น ควร
ท าการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแต่ละกลุ่มย่อย ปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่อาจส่งผลต่อความพง
ึ
พอใจ ควรมีการเปรียบเทียบความพงพอใจของผู้ใช้บริการก่อนและหลังการพัฒนาสภาพภูมิทัศน์ เพอ
ึ
ื่
ประเมินความสัมฤทธิ์ของการพัฒนา
อาธิ ศิริยา (2565) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนนักศกษาต่อการจัดสภาพ
ึ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียน วิทยาลัยการอาชีพละงู จังหวัดสตูล มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพงพอใจ
ึ
ของนักเรียนนักศึกษาต่อการจัดสภาพ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนวิทยาลัยการอาชีพละงู จังหวัดสตูล
และเพอเปรียบเทียบความพงพอใจของ นักเรียนนักศึกษาต่อการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
ื่
ึ
วิทยาลัยการอาชีพละงู จังหวัดสตูล จ าแนกตามประเภทวิชาที่ก าลังศึกษา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
คือ นักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง (ปวส.) ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ค านวณขนาดกลุ่ม ตัวอย่างด้วยการใช้สูตรทาโร่
ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จ านวน 279 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม คือ
ี่
แบบสอบถาม เป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถ ค่าร้อย
ละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)
และหากพบ ความแตกต่างทางสถิติจะท าการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ใช้วิธีการทดสอบของ
เชฟเฟ (Scheffe) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพงพอใจของนักเรียนนักศึกษาต่อการจัดสภาพ
ึ
่
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนวิทยาลัยการ อาชีพละงู จังหวัดสตูล โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก