Page 53 -
P. 53

ั
                                                   ิ
                                                                                       ุ
                                   ิ
                                            ิ
                                               ์
                                ื
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                              ิ
                                                                                                         46


                                                             บทที่ 3

                                                           วิธีกำรศึกษำ


                                                                                         ั
                              การศึกษา เรื่อง ความพงพอใจของนิสิต อาจารย์ และบุคลากรต่อการพฒนาสภาพภูมิทัศน์
                                                  ึ
                        ื้
                       พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative
                       Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้
                       ก าหนดวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ดังนี้


                                                     ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง

                       ประชำกร


                              ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นิสิต จ านวน 36,778 คน อาจารย์ จ านวน 2,579 คน
                       และบุคลากร จ านวน 4,471 คน รวมทั้งสิ้น 43,828 คน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2566)


                       กลุ่มตัวอย่ำง

                              กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นิสิต จ านวน 36,778 คน อาจารย์ จ านวน 2,579
                       คน และบุคลากร จ านวน 4,471 คน รวมทั้งสิ้น 43,828 คน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2566)

                       ก าหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการค านวณขนาดตัวอย่างของ Yamane (1973) ที่ระดับความ
                       เชื่อมั่น 95 %  ขนาดความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ระดับ 0.05

                                                                  N
                                                          n =
                                                                    2
                                                               1+(Ne )

                             เมื่อ          n      =       ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
                                            N      =       จ านวนประชากร
                                            e      =       ระดับของความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับให้เกิดขึ้นได้ 5%
                                             2
                                                           หรือ 0.05
                             แทนค่าในสูตร

                                                          43,828
                                            n        =
                                                                 2
                                                      1+(43,828 X 0.05 )

                                            n      =       396.38
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58