Page 50 -
P. 50

ิ
                                   ิ
                                               ์
                                ื
                                                                                       ุ
                                                                               ั
                                                   ิ
                                                              ิ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                       43


                       เรียงตามล าดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้  ด้านการบริหารจัดการ ด้านวิชาการ และด้านกายภาพ
                       และ 2) การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาต่อการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
                       วิทยาลัยการอาชีพละงู จังหวัดสตูล จ าแนกตามประเภทวิชาที่ก าลังศึกษา พบว่า โดยรวมและรายด้าน
                       แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยการศึกษานี้เน้นศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน

                       นักศึกษาต่อการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนวิทยาลัยการอาชีพละงู จังหวัดสตูล ดังนั้น ควร
                       ศึกษาความแตกต่างของความพงพอใจตามปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ วัย วุฒิการศึกษา ระดับชั้น
                                                 ึ
                                                          ึ
                       คณะ หรือหน่วยงาน และการศึกษาความพงพอใจต่อประเด็นอนๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ความหลากหลาย
                                                                          ื่
                                                                                                 ื้
                                    ื้
                       ทางชีวภาพในพนที่ ความร่มรื่นและบรรยากาศโดยรวม ความสะดวกสบายในการเข้าถึงพนที่ ความ
                       ปลอดภัยในการใช้พื้นที่ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

                              ภาคิณ หมั่นทุ่ง และธวัชชัย มูลตลาด (2565) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพงพอใจของ
                                                                                                ึ
                                                                                                        ื่
                       นักศึกษาต่องานภูมิทัศน์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีวัตถุประสงค์เพอ
                       ศึกษาความพงพอใจของนักศึกษาต่องานภูมิทัศน์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรม
                                  ึ
                       ราชูปถัมภ์ และเปรียบเทียบความพงพอใจของนักศึกษาที่มีความแตกต่างทางด้านเพศและคณะที่
                                                     ึ
                       ศึกษาตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยฯ ปีการศึกษา 2563 จ านวน 364 คน

                       เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อหมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการ
                       วิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยความถี่ ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ t-test  และ One-
                       way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่าความพงพอใจของนักศึกษาต่องานภูมิทัศน์
                                                                            ึ
                       มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยรวมมีความพงพอใจอยู่ในระดับมาก
                                                                                      ึ
                       และการเปรียบเทียบความพึงพอใจพบว่า นักศึกษาที่มเพศแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่องานภูมิทัศน์
                                                                   ี
                       แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในคณะที่แตกต่างกันมี
                       ความพึงพอใจต่องานภูมิทัศน์แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยการศึกษานี้เน้น
                       ศึกษาเฉพาะความพงพอใจของนักศึกษาต่องานภูมิทัศน์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระ
                                       ึ
                       บรมราชูปถัมภ์เท่านั้น ดังนั้น ควรศึกษาความพงพอใจในระดับรายบุคคล โดยไม่เปรียบเทียบความพง
                                                             ึ
                                                                                                         ึ
                                                         ื่
                       พอใจระหว่างกลุ่มประชากรย่อยต่างๆ เพอให้ทราบถึงความต้องการของแต่ละกลุ่มอย่างแท้จริง เพอ
                                                                                                        ื่
                       น าไปพัฒนาสภาพภูมิทัศน์ให้ตอบสนองความต้องการและประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้งาน

                              ชยุเรต วงษาเนาว์ และญาณินทร์ รักวงศ์วาน (2566) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การประเมินหลัง
                                 ื้
                       การใช้งานพนที่ภายในอาคารเชิงปฏิบัติการ กรณีศึกษา อาคารปฏิบัติการนวัตกรรมและออกแบบ
                       สถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีวัตถุประสงค์เพอ
                                                                                                        ื่
                                            ื้
                       ประเมินหลังการใช้งานพนที่ภายในอาคารเชิงปฏิบัติการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
                                                   ื่
                       เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และเพอเสนอแนะแนวทางการออกแบบพื้นที่ภายในอาคารเชิงปฏิบัติการ
                                                                     ึ
                       การวิจัยนี้ด าเนินการเก็บข้อมูลจากการวัดระดับความพงพอใจหลังการใช้งานพนที่ภายในอาคารเชิง
                                                                                        ื้
                       ปฏิบัติการของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จ านวน 80 คน โดยการวิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยค่าร้อยละ
                       ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า นักศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง

                                          ึ
                       ส่วนใหญ่มีระดับความพงพอใจในการใช้อาคารอยู่ในระดับน้อยในปัจจัยการบริหารระบบจัดการความ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55