Page 55 -
P. 55
ุ
ิ
ิ
ิ
ิ
ื
ั
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
48
กำรทดสอบเครื่องมอที่ใช้ในกำรศึกษำ
ื
ผู้ศึกษาทดสอบเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา โดยการน าแบบสอบถามไปท าการทดสอบหา
ความตรงและความเชื่อมั่น ดังนี้
1. การหาความตรง (Validity) โดยน าแบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นจากการศึกษาแนวคิด
ิ
และทฤษฎี ตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวข้องน าไปเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้าอสระและ
ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ เพอตรวจสอบหาความตรงเชิงเนื้อหาของค าถามในแต่ละข้อ ด้วยการ
ื่
ค านวณค่า IOC (Index of Item objective congruence) หรือดัชนีความสอดคล้องจากข้าราชการ
ต ารวจภูธรจังหวัดนครสวรรค์ จ านวน 3 คน และน าข้อเสนอแนะมาแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมเพอ
ื่
ด าเนินการในขั้นตอนต่อไป
2. การหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้ศึกษาน าแบบสอบถามที่มีความตรงตามเนื้อหาไป
ท าการทดสอบ (Try-out) กับนิสิต อาจารย์ และบุคลากร ซึ่งไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจริงในการเก็บข้อมูล
ครั้งนี้ จ านวน 30 คน และน าแบบสอบถามมาวิเคราะห์เพอหาความเชื่อมั่นเป็นรายข้อ(Item
ื่
Analysis) และใช้วิธีการหาความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency Method) ชุด เพอหา
ื่
คุณภาพเครื่องมือ โดยการหาค่าความเที่ยงหรือความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม (Reliability) โดยใช้
สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha) โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปส าหรับการ
วิจัยทางสังคมศาสตร์ ได้ค่าความเที่ยงหรือความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามมากกว่า 0.80 ซึ่งถือว่า
แบบสอบถามนี้มีความเชื่อถือได้สามารถน าไปเก็บขอมูลได้จริง
้
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาน าแบบสอบถามที่ผ่านการทดสอบความตรงตามเนื้อหา
และความเชื่อมั่น ไปสอบถามกับนิสิต อาจารย์ และบุคลากร จ านวน 400 คน โดยเก็บข้อมูลระหว่าง
ตุลาคม พ.ศ. 2566 จนถึงเดือน มีนาคม พ.ศ. 2567 และเก็บแบบสอบถามกลับคืนมาได้ จ านวน 400
ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00
ื่
2. ผู้ศึกษาตรวจสอบถามสมบูรณ์ของแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมา จ านวน 400 ชุดเพอ
น าไปจัดกระท ากับข้อมูล โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทางสังคมศาสตร์
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
ผู้ศึกษาได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลจากแบบสอบถามและได้น าไป
ิ
ประมวลผลโดยใช้โปรแกรมคอมพวเตอร์ส าเร็จรูปทางสถิติ (Statistical Computer Ready Made
Program)