Page 45 -
P. 45
ื
ิ
์
ิ
ิ
ุ
ิ
ั
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
38
ส่วนที่ช ารุดให้ใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพและเน้นความสะอาด ด้านห้องท างาน ควรมีการปรับปรุง
ุ
ื่
วัสดุและอปกรณ์การท างานให้เหมาะสมกับการท างาน มีความสะอาด เพอส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี
สร้างบรรยากาศในการท างาน และควรท าการศึกษาความต้องการของบุคลากรภายในหน่วยงานสังกัด
ื่
ส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อบรรยากาศองค์การ เพอน าผลการศึกษามา
ื่
ั
ปรับปรุงและพฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการของบุคลากรเพอให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป โดย
การศึกษานี้เน้นศึกษาเฉพาะบุคลากรภายในหน่วยงานสังกัดส านักงานอธิการบดี บรรยากาศองค์การ
และใช้แบบสอบถามเป็นหลัก ดังนั้น ควรขยายกลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมถึงนิสิตและอาจารย์
ิ
พจารณาประเด็นด้านสภาพภูมิทัศน์ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น และใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลเชิงลึกที่
หลากหลาย โดยศึกษาประเด็นเพมเติม เช่น ปัจจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ปัจจัยด้านความ
ิ่
ยั่งยืน เป็นต้น เพื่อให้การศึกษามีความสมบูรณ์และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนามหาวิทยาลัยต่อไป
ธนาวดี เพชรยศ และฤภูวัลย์ จันทรสา (2562) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ความ
ึ
ต้องการและความพงพอใจในงานบริการ ศูนย์บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
มหาวิทยาลัยบูรพา มีวัตถุประสงค์เพอวิเคราะห์ความต้องการและความพงพอใจในงานบริการ
ึ
ื่
การแพทย์แผนไทยและน าเสนอแนวทางการปรับปรุงงานบริการในประเด็นที่ส าคัญ โดยได้ใช้
ศูนย์บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยบูรพา (ศูนย์บริการฯ)
เป็นกรณีศึกษา งานวิจัยได้ส ารวจความต้องการและความพงพอใจของผู้ใช้บริการจ านวน 51 คน ด้วย
ึ
แบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามแนวคิดของ แบบจ าลอง SERVQUAL และแบบจ าลองคาโน เทคนิคการ
ื่
ึ
กระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD) ได้น ามาประยุกต์เพอก าหนดคุณลักษณะการบริการที่พงประสงค์
ผลการวิเคราะห์ด้วยแบบจ าลอง SERVQUAL พบว่าประเด็นคุณภาพที่ส่งผลต่อความไม่พึงพอสูงสุด 3
ล าดับแรกจากทั้งหมด 19 รายการ ได้แก่ 1) จ านวนแพทย์แผนไทย/เจ้าหน้าที่ 2) ความเป็นระเบียบ
ในการจัดสรรพนที่ให้บริการ 3) การประชาสัมพนธ์ทางสื่อต่างๆ ผลการวิเคราะห์ด้วยคาโนโมเดล
ั
ื้
พบว่าประเด็นคุณภาพทั้ง 19 รายการจัดอยู่ในกลุ่มคุณลักษณะที่ดึงดูดใจทั้งหมด จากการประยุกต์ใช้
QFD พบว่าคุณลักษณะการบริการพงประสงค์และควรมุ่งเน้นในการปรับปรุง 3 ล าดับแรก ได้แก่
ึ
1) จ านวนแพทย์แผนไทยและเจ้าหน้าที่เพยงพอ 2) ความสะดวกสบายในการเข้าถึงต าแหน่งต่างๆ
ี
ภายในศูนย์บริการฯ 3) เวลาในการเปิดให้บริการที่เหมาะสม งานวิจัยนี้ได้น าเสนอแนวทางการ
ปรับปรุงแผนผังของศูนย์บริการฯ โดยการย้ายต าแหน่งงานและอุปกรณ์ภายในศูนย์บริการ เพื่อให้เกิด
ความเหมาะสมและสะดวกสบายแก่ผู้ใช้บริการ โดยการศึกษานี้มุ่งเน้นไปที่ผู้ใช้บริการของศูนย์บริการ
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยบูรพา โดยศึกษาความต้องการและความพง
ึ
พอใจในงานบริการการแพทย์แผนไทยเท่านั้น ดังนั้น จ าเป็นต้องมีขอบเขตการศึกษาที่กว้างขึ้น และ
ื่
ครอบคลุมตัวแปรการศึกษาที่หลากหลายมากขึ้น รวมถึงใช้วิธีการวิจัยที่หลากหลายมากขึ้น เพอให้
สามารถสะท้อนถึงความต้องการและความพงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อสภาพภูมิทัศน์ของ
ึ
มหาวิทยาลัยได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพมากขึ้น