Page 47 -
P. 47
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
40
ให้บริการ 2 ด้านบุคลากรที่ให้บริการ 3) ด้านสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก และ 4) ด้าน
ระยะเวลาในการด าเนินการประชากรในการศึกษาในครั้งนี้ คือ นักศึกษาที่ก าลังศึกษาระดับปริญญา
ตรี (ภาคปกติ) ชั้นปีที่ 2-4ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จ านวน 2,021 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง 344 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ
การวิจัยและเก็บรวมรวมข้อมูลด้านบุคลากรที่ให้บริการ ด้านสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก และ
ด้านระยะเวลาในการด าเนินการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามการมารับบริการจากหน่วยงาน
ภายในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 เป็นเพศชาย เป็นนักศึกษาจากภาควิชา
ึ
ิ
วิศวกรรมอเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม นักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมีความพงพอใจ ค่าเฉลี่ย
ึ
ิ
ั
3.92 อยู่ในระดับมากเมื่อพจารณารายด้านพบว่า ฝ่ายพฒนานักศึกษา นักศึกษามีความพงพอใจใน
ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ และด้านระยะเวลาในการด าเนินการ มากที่สุด งานทะเบียน
ึ
และวัดผล งานสหกิจศึกษา และส านักงานภาควิชา นักศึกษามีความพงพอใจในด้านระยะเวลาในการ
ด าเนินการ มากที่สุด เมื่อพจารณาตามคุณลักษณะของผู้มารับบริการ พบว่า นักศึกษาเพศชาย มี
ิ
ึ
ความพึงพอใจในการให้บริการ มากที่สุด เมื่อจ าแนกชั้นปี พบว่านักศกษาทุกชั้นปี มีความพึงพอใจอยู่
ิ
ึ
ในระดับมาก เท่ากันทุกชั้นปี เมื่อจ าแนกภาควิชาพบว่า ภาควิชาวิศวกรรมคอมพวเตอร์ มีความพง
พอใจมากที่สุด โดยที่มีความพงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยการศึกษานี้มุ่งเน้นความพงพอใจของ
ึ
ึ
ผู้รับบริการเพยงอย่างเดียว โดยไม่ค านึงถึงประโยชน์ต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นความคิดเห็น
ี
ของผู้รับบริการจากหน่วยงานภายในคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยไม่ครอบคลุมถึงความคิดเห็นจาก
ิ
ิ
ื่
ผู้รับบริการจากหน่วยงานอน ๆ ภายในมหาวิทยาลัย และไม่ได้พจารณาปัจจัยอน ๆ ที่มีอทธิพลต่อ
ื่
ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ดังนั้น ควรศึกษาให้ครอบคลุมถึงประโยชน์ต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
ศึกษาความคิดเห็นของผู้รับบริการจากหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
และพิจารณาปัจจัยอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้รับบริการเพมเติม
ิ่
ภควดี ประไพวรรณ์กุล (2563) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการอาคารเรียน
มหาวิทยาลัยในบริบทของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ใช้งาน:กรณีศึกษา
ิ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาปัจจัยที่มีอทธิพลต่ออาคารของ
ื่
มหาวิทยาลัย และมีผลต่อการใช้งาน (ได้แก่ความพงพอใจของนักศึกษา ประสิทธิภาพและ
ึ
ื้
ื้
ประสิทธิผล) ของพนที่การเรียนรู้วิธีการวิจัยประกอบด้วย การศึกษาพนที่อาคารของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซึ่งจ าแนกเป็น 3 กลุ่ม ใน 5 อาคาร ได้แก่ 1) กลุ่มอาคารเรียนสุขศาสตร์– 1
อาคาร 2) กลุ่มอาคารเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี– 2 อาคาร 3) กลุ่มอาคารเรียนสังคมศาสตร์–
2 อาคาร โดยการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยการวิเคราะห์เอกสาร การสัมภาษณ์ผู้จัดการอาคาร
ื้
สถานที่ และชุดของการส ารวจแบบสอบถาม ผลการศึกษาและการวิเคราะห์พบว่าพนที่อาคารเรียน
ื่
โดยเฉพาะส่วนที่มีการใช้งานของกลุ่มนักศึกษาต้องการความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนพื้นที่เพอใช้ใน
การท างานที่แตกต่างกันในแต่ละวิชา โดยการศึกษานี้เน้นการศึกษาเฉพาะการจัดการอาคารเรียน
ื้
ื่
เท่านั้น ดังนั้น ควรศึกษาการจัดภูมิทัศน์โดยรอบเพอจะท าให้สามารถพฒนาสภาพภูมิทัศน์ของพนที่
ั
ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ให้มีความสวยงาม ร่มรื่น น่าอยู่ และยั่งยืน