Page 51 -
P. 51

ิ
                                                              ิ
                                                                               ั
                                               ์
                                ื
                                   ิ
                                            ิ
                                                                                       ุ
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                       44


                       ปลอดภัย และปัจจัยการจัดการข้อมูลและเอกสาร ในปัจจัยระบบป้องกันและแก้ไขภัยอนตราย
                                                                                                   ั
                       รวมทั้งปัจจัยการให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการกลุ่มตัวอย่างมีระดับความ
                       พงพอในระดับปานกลาง ในปัจจัยลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการอุปกรณ์และเครื่องมือกลุ่ม
                        ึ
                                                                                                         ึ
                                                                    ื้
                                          ึ
                       ตัวอย่างมีระดับความพงพอในระดับมาก ส่วนการจัดพนทีปัจจัยต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างมีระดับความพง
                                                                            ื้
                       พอใจในระดับปานกลาง จากผลการวิจัย ดังนั้นในการออกแบบพนที่ภายในอาคารเชิงปฏิบัติการไม่ว่า
                       พนที่ใดก็แล้วแต่ สิ่งที่ควรให้ความส าคัญมากที่สุดในการออกแบบนี้คือความปลอดภัยนั่นเอง โดย
                        ื้
                                                         ื้
                                                                                        ื้
                       การศึกษานี้เน้นการศึกษามุ่งเน้นเฉพาะพนที่ภายในอาคารเชิงปฏิบัติการ ซึ่งมีพนที่ใช้สอยเฉพาะทาง
                                                                  ื้
                       และการใช้งานที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ในขณะที่พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
                                                                                         ื้
                                    ื้
                       ประกอบด้วยพนที่ใช้สอยที่หลากหลาย เช่น พนที่ส าหรับการเรียนการสอน พนที่ส าหรับกิจกรรม
                                                              ื้
                       สันทนาการ พื้นที่ส าหรับพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น ดังนั้น การศึกษาความพึงพอใจต่อการพัฒนาสภาพ
                                                                                      ื้
                               ื้
                       ภูมิทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน จึงควรครอบคลุมพนที่ใช้สอยที่หลากหลาย
                       เหล่านี้ เพื่อให้ทราบถึงความต้องการและความพึงพอใจของผู้ใช้พื้นที่อย่างแท้จริง

                                                                                                ึ
                              รัฐธรรมนูญ โมลาแสง และณัฎฐธิดา ตรงดี (2566) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพงพอใจของ
                       นักศึกษาต่อการใช้บริการโรงอาหารภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มีวัตถุประสงค์เพอ
                                                                                                        ื่
                                             ึ
                           ื่
                       1) เพอศึกษาระดับความพงพอใจต่อการใช้บริการโรงอาหารภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
                       2) เพอศึกษาเปรียบเทียบความพงพอใจต่อการใช้บริการโรงอาหารภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ
                           ื่
                                                   ึ
                                                                 ั
                       สกลนครของนักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย
                       ราชภัฏสกลนคร จ านวน 386 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน
                       การเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
                       เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การทดสอบค่าที (t-test) และการ
                       วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผู้วิจัยพบว่า 1) ความหลากหลายของ
                       อาหาร ความสะอาดของอาหารและเครื่องดื่ม ความรวดเร็วในการบริการของแม่ค้า ความเหมาะสม

                       ของราคาอาหารเมื่อเทียบกับปริมาณ ความเพียงพอของจ านวนร้านค้า ความสะอาดของภาชนะบรรจุ
                                                                                ึ
                       ของอาหาร รสชาติอาหาร ทั้ง 7 ข้ออยู่ในระดับปานกลาง 2) ความพงพอใจการใช้บริการโรงอาหาร
                       มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครของนักศึกษาแตกต่างกันตามปัจจัยด้านเพศ และชั้นปีที่ศึกษา ยกเว้น
                                                                                             ี
                                                                                                 ื้
                       ปัจจัยด้านคณะที่ศึกษา โดยการศึกษามุ่งเน้นเฉพาะการใช้บริการโรงอาหาร ซึ่งเป็นเพยงพนที่ใช้สอย
                       ประเภทหนึ่งภายในมหาวิทยาลัยเท่านั้น ในขณะที่พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
                                                                  ื้
                                                                                         ื้
                       ประกอบด้วยพนที่ใช้สอยที่หลากหลาย เช่น พนที่ส าหรับการเรียนการสอน พนที่ส าหรับกิจกรรม
                                    ื้
                                                              ื้
                       สันทนาการ พื้นที่ส าหรับพักผ่อนหย่อนใจ เป็นต้น
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56