Page 43 -
P. 43
ิ
ิ
ั
์
ื
ิ
ิ
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
36
สุขุมาล์ เกตุสุวรรณ (2561) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความคาดหวังและความพงพอใจของ
ึ
นักศึกษาที่มีต่อการให้บริการของกองกิจการนักศึกษา ส านักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา
ื่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาระดับความคาดหวังและระดับ
ึ
ความพงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้บริการของ กองกิจการนักศึกษา ส านักงานอธิการบดี
ั
ื่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต และเพอศึกษาความสัมพนธ์ของระดับความคาดหวัง
และความพงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้บริการของ กองกิจการนักศึกษา ส านักงานอธิการบดี
ึ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต จ านวน 360 ราย โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล น าเสนอข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
ทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพนธ์เพยร์สัน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่เป็น
ี
ั
เพศหญิง มีภูมิล าเนาจังหวัดอนในภาคใต้ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 หลักสูตรคณะ
ื่
การบริการและการท่องเที่ยว มีเกรดเฉลี่ยอยู่ ในระดับ 2.50 - 2.99 และใช้บริการกองกิจการนักศึกษา
นานๆ ครั้ง หรือภาคการศึกษาละครั้ง มีความคาดหวังโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความคาดหวัง
มากที่สุดในด้านความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ และมีความพงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี
ึ
ความพงพอใจมากที่สุดในด้านการให้ความมั่นใจ ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า เพศ อายุ หลักสูตร
ึ
ที่ศึกษา และระดับเกรดเฉลี่ยแตกต่างกันมีความคาดหวังที่แตกต่างกัน ส่วนหลักสูตรที่ศึกษา และ
ระดับเกรดเฉลี่ยแตกต่างกัน มีความพงพอใจต่อการให้บริการที่แตกต่างกัน ผลการทดสอบ
ึ
ึ
ความสัมพนธ์พบว่า ความคาดหวังและความพงพอใจมีความสัมพนธ์กันในทิศทางเดียวกัน โดย
ั
ั
การศึกษานี้เน้นส ารวจความคิดเห็นของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ในคณะการบริการและ
ื่
การท่องเที่ยวเป็นหลัก โดยในการศึกษาครั้งต่อไปควรจ าเป็นต้องค านึงถึงปัจจัยแวดล้อมอนๆ ที่
เกี่ยวข้อง เช่น นโยบายของมหาวิทยาลัย งบประมาณในการจัดสรรให้กับการพฒนาสภาพภูมิทัศน์
ั
สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ เป็นต้น
สุภานี กลมเกลี้ยง และมณฑาทิพย์ โสมมีชัย (2561) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของ
นิสิตปริญญาตรีต่อการจัดการพนที่สีเขียว ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน มี
ื้
ความส าคัญในการใช้เป็นข้อมูลพนฐานในการจัดการพนที่สีเขียวให้ตอบสนองต่อความต้องการของ
ื้
ื้
นิสิต โดยท าการสุ่มตัวอย่างสัมภาษณ์นิสิต 395 คน กระจายใน 15 คณะและทุกชั้นปี แล้วหาค่าร้อย
ละและทดสอบความแตกต่าง ทางสถิติของความพงพอใจต่อการจัดการพนที่สีเขียวทั้ง 12 ดัชนีได้แก ่
ื้
ึ
ที่ตั้ง สภาพแวดล้อม ความเพียงพอของพื้นที่ สีเขียว ร่มเงา ความงามของพนที่ การออกแบบ ทรงพม
ุ่
ื้
การแตกกิ่งก้าน ความเหมาะสมของชนิดพันธุ์ สุขภาพต้นไม้ ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม และการ
ื่
ื้
จัดการเพอลดความเสี่ยงจากต้นไม้ พบว่า ในภาพรวมของการจัดการพนที่ สีเขียวของมหาวิทยาลัย
นิสิตมีความพึงพอใจในระดับปานกลางเท่านั้นโดยมีเพียง 2 ดัชนีที่นิสิตมีความพึงพอใจใน ระดับสูงคือ
ื้
ดัชนีด้านที่ตั้งและสภาพแวดล้อมของพนที่สีเขียว ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ควร
ื้
มี การจัดการพนที่สีเขียวในด้านต่างๆ ให้มากขึ้นเพอให้ตรงตามวิสัยทัศน์ของการเป็นมหาวิทยาลัยสี
ื่
เขียวและมีความสุข โดยการศึกษานี้เน้นการส ารวจความคิดเห็นของนิสิตปริญญาตรีเพยงกลุ่มเดียว
ี
เท่านั้น ดังนั้น ควรศึกษาอีกครั้งเพอให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงความพงพอใจของนิสิต อาจารย์ และ
ึ
ื่