Page 44 -
P. 44
ิ
ั
ุ
ิ
์
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
37
ื่
ั
ิ่
บุคลากรต่อการพฒนาสภาพภูมิทัศน์ ประเด็นอนๆ ที่น่าสนใจที่สามารถน ามาศึกษาเพมเติม เช่น
ความพงพอใจต่อการจัดสวนสาธารณะ การจัดสวนหย่อม การจัดสวนแนวตั้ง การจัดสวนแนวนอน
ึ
การจัดสวนแนวน้ า การจัดสวนแนวป่า เป็นต้น
ึ
มุนิล ลอยประโคน (2562) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้
ึ
ื่
บริการอาคาร Student center ของมหาวิทยาลัยรังสิต มีวัตถุประสงค์เพอการศึกษาความพงพอใจ
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิตที่มีต่อ การใช่บริการอาคาร Student center ได้แก่
ด้านสภาพแวดล้อมในการบริการ ด้านระยะเวลาการ บริการ ด้านความสะดวกในการบริการ
ด้านระบบการบริการ และด้านคุณภาพการให้บริการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษา
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต จ านวน 400 คนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล แบบสอบถามด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางคอมพวเตอร์ สถิติที่ใช้
ิ
ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย
พบว่า ความพงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการ อาคาร Student center ของมหาวิทยาลัย
ึ
รังสิต ภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก
ที่สุด ทุกด้าน โดยด้านที่นักศึกษามีความพงพอใจมากที่สุดคือ ด้านสภาพแวดล้อในการบริการ ด้าน
ึ
ระยะเวลาการบริการ ด้านความสะดวกสบายในการบริการ ด้านระบบการบริการ และด้านคุณภาพ
การให้บริการ ตามล าดับ โดยการศึกษานี้เน้นการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต
ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีสภาพแวดล้อมและบริบทที่แตกต่างกันจากมหาวิทยาลัยรัฐบาล ดังนั้น
ควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจต่อการพัฒนาสภาพภูมิทัศน์ เช่น ประเภทของพนที่
ื้
การออกแบบและการจัดวางองค์ประกอบต่างๆ การดูแลรักษาความสะอาด ความปลอดภัย และอื่นๆ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2562) ได้ท าการศึกษาเรื่อง ความพงพอใจของบุคลากรภายใน
ึ
หน่วยงานสังกัดส านักงานอธิการบดีต่อบรรยากาศองค์การ ประจ าปี 2561 มีวัตถุประสงค์เพอศึกษา
ื่
ความพึงพอใจของบุคลากรภายในหน่วยงานสังกัดส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อ
บรรยากาศองค์การ โดยการเก็บข้อมูลจากบุคลากร ในปี 2561 (ระหว่าง เดือนตุลาคม – เดือน
ธันวาคม 2561) ประกอบด้วยหน่วยงานสังกัดส านักงานอธิการบดี รวม 14 หน่วยงาน โดยใช้ แนวคิด
ของทฤษฎีสองปัจจัยของ Herzberg เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพงพอใจในการท างาน และ
ึ
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับบรรยากาศองค์การมารวบรวมเป็นค าถาม น าข้อมูลมาวิเคราะห์โดย
ึ
ใช้โปรแกรมส าเร็จรูป น าเสนอเป็นตาราง ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ และวัดระดับความพงพอใจเป็น 5
ระดับ ตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert Scale) ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของบุคลากรภายใน
หน่วยงานสังกัดส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อบรรยากาศองค์การ อยู่ในระดับ
ั
มาก ด้านแสงสว่างในห้องท างานเพยงพอต่อการปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด และด้านมีที่พกผ่อน และ
ี
ภูมิทัศน์ในที่ท างานอย่างเหมาะสมตามสภาพของพนที่ ด้านห้องน้ าสะอาดถูกสุขลักษณะมีค่าเฉลี่ย
ื้
น้อย ตามล าดับ ส าหรับความพึงพอใจของ หน่วยงานสังกัดส านักงานอธิการบดีต่อบรรยากาศองค์การ
สถานพยาบาล มก. มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด และส านักงานประกันคุณภาพ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ุ
ข้อเสนอแนะจากการศึกษาให้มีการปรับปรุง ได้แก่ ด้านห้องน้ าและอปกรณ์ ควบปรับปรุง/แก้ไขใน