Page 40 -
P. 40
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
2. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ภาคสนาม
ื
ตัวอย่างแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่อตรวจสุขภาพ ภาคสนาม โดยท่วไปแล้ว
ั
ื
เรามักจะเปรียบเทียบตัวเรากับบุคคลอ่นว่าใครมีสมรรถภาพทางกายท่ดีกว่ากัน นอกจากนี้เรายัง
ี
สามารถเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานได้ ดังน้น จุดมุ่งหมายของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ั
คือ การทดสอบให้ทราบถึงระดับของสมรรถภาพทางกายพื้นฐานในปัจจุบัน และสามารถน�าผลนี้
ั
ไปเป็นองค์ประกอบในการต้งเป้าหมาย เพ่อส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย กาหนดโปรแกรมการออก
�
ื
�
ี
กาลังกายท่เหมาะสม และยังใช้ในการประเมินผลโปรแกรมการออกกาลังกายได้อีกด้วย สาหรับ
�
�
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นเพียงตัวอย่างของการทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายท่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพ และทุกคนสามารถนามาทดสอบได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องใช้
�
ี
อุปกรณ์มากมาย สะดวก และง่าย ในการทดสอบทุกท่านควรจะได้ผลการทดสอบอยู่ในระดับปาน
กลางหรือปกติในทุกรายการ หากท่านใดได้ผลอยู่ในระดับต�่าในรายการใด แสดงว่าท่านจะต้องมา
เริ่มต้นออกก�าลังกายเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายในด้านนั้น ๆ หากท่านอยู่ในระดับดีหรือดี
ื
ี
ี
มาก ท่านก็ควรท่จะรักษาระดับน้เอาไว้ต่อไป แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่อสุขภาพภาค
สนามน้ ประกอบด้วย อัตราชีพจรขณะพัก วัดเส้นรอบวงเอวต่อรอบวงสะโพก ดัชนีมวลกาย
ี
นั่งงอตัวแตะผนัง นอนงอตัว 1 นาที ดันพื้น 1 นาที และเดินระยะทาง 1 ไมล์ (Heyward, 2002;
Robbins et.al.,2002)
2.1 อัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก
วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสุขภาพพื้นฐาน
อุปกรณ์ นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาที
วิธีด�าเนินการ
ี
้
ี
้
ิ
1. การจับชีพจรโดยวิธีการคล�า กระท�าได้ดังน ใช้ปลายน้วกลางและน้วช และ
ิ
บริเวณคอ (Carotid artery) หรือ บริเวณข้อมือด้านนิ้วหัวแม่มือ (Radial artery)
2. นับอัตราการเต้นของหัวใจ จากการสัมผัสบริเวณที่มีเส้นเลือดแดงตามข้อที่ 1
ื
�
เป็นเวลา 15 วินาท เม่อได้จานวนคร้งแล้วคูณด้วย 4 เพ่อท่จะได้ทราบอัตราการเต้นของหัวใจ
ี
ี
ื
ั
ต่อนาที
3. น�าผลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ในตารางที่ 3.2
การออกก�าลังกาย 33