Page 52 -
P. 52

ิ
                                                ิ
                                                    ์
                                                                      ิ
                                    ื
                                       ิ
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


               ไปใช้ในการปรับปรุงสินค้า บริการ ประสบการณ์การช้อปปิ้ง และปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ของสินค้าได้  (Heckman,
               1999; Lauterborn, 1990)

                       ดังนั้นผู้เขียนมีความเห็นว่าส่วนประสมทางการตลาดทั้ง 4P’s และ 4C’s นับว่าเป็นทฤษฎีที่คล้ายคลึงกัน
               ซึ่งการที่บริษัทจะเลือกใช้ทฤษฎีใดนั้นขึ้นอยู่การพจารณาของผู้บริหารและนักการตลาดและนโยบายของบริษัทที่
                                                         ิ
               จะเลือกมุ่งเน้นในด้านใดเพื่อให้เกิดประโยชน์กับสินค้าและบริการของบริษัทมากที่สุด





                 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer behavior)



                       ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภคที่นักการตลาดธุรกิจอาหารมักจะน าไปใช้ มักเป็นทฤษฎี 6W1H (Kotler &

               Keller, 2011) แนวคิดการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค 6W+1H ศึกษาแนวคิดทใช้ศึกษาพฤติกรรมการซื้อและ
                                                                                 ี่
               การบริโภคสินค้าอุปโภคบริโภค ว่าคุณลักษณะใดที่ผู้บริโภคพึงพอใจและพฤติกรรมใดที่ผู้บริโภคท า เพื่อให้นักการ

               ตลาดได้น าค าตอบที่ได้รับมาวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดได้อย่างเหมาะสม ตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภค
               ได้ ค าถามที่ใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค ควรใช้ 6W1H โดยหลักการประกอบด้วย ใคร (Who) อะไร

               (What) ท าไม (Why) ใครมีส่วนร่วม (Whom) เมื่อไร (When) ที่ไหน (Where) แล้วอย่างไร (How) (ดังภาพที่
               2.2) เพอค้นหาค าตอบ 7 ข้อหรือ 7Os ซึ่งประกอบด้วย ผู้ซื้อ (Occupant) สิ่งที่จะซื้อ (Objects) วัตถุประสงค์
                      ื่
               (Objectives) องค์กร (Organization) โอกาส (Occasions) ช่องทางขาย (Outlets) และการปฏิบัติการ
               (Operations) (Pizam et al., 1999)



































                                                             50
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57