Page 49 -
P. 49
์
ิ
ื
ิ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ุ
มุ่งเน้นไปที่บรรจุภัณฑ์ของสินค้า เพราะในอตสาหกรรมอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารส่วนใหญ่ผ่านการแปรรูป บรรจุ
จัดเก็บ และเคลื่อนย้ายผ่านช่องทางการตลาด บรรจุภัณฑ์จึงเป็นสิ่งส าคัญและเป็นส่วนหนึ่งของการท าการตลาด
ผลิตภัณฑ์ เช่นเดียวกับหนังสือที่ถูกตัดสินจากปก ผลิตภัณฑ์จะถูกตัดสินจากบรรจุภัณฑ์ ผู้บริโภคจะอานฉลาก
่
อาหารเพอบอกคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหารมักระบุถึงปริมาณสารอาหารที่มีอยู่ใน
ื่
ผลิตภัณฑ์นั้น ซึ่งผู้บริโภคที่มีปัญหาสุขภาพก็มักจะให้ความส าคัญกับข้อมูลในส่วนนี้. แต่ทั้งอาหารและบรรจุภัณฑ์
ต้องมีความน่าสนใจ บรรจุภัณฑ์ควรเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สิ้นเปลืองน้อยลง และให้ข้อมูลของสินค้ามากขึ้น
(Sadiku et al., 2019)
1.2 ราคา (Price)
ราคา หมายถึง สิ่งที่ผู้บริโภคต้องจ่ายหรือแลกเปลี่ยนเพื่อให้ได้สินค้าและบริการนั้น โดยจะหมายรวมถึงทั้ง
ที่เป็นเงินและไม่ใช่เงิน (Hastings et al., 2003) ทั้งในด้านเศรษฐศาสตร์และจิตวิทยา (Özdemir & Uslu, 2017).
ซึ่งราคาจะประกอบด้วยต้นทุนรวมทั้งหมดในการผลิตสินค้าจนถึงการน าเสนอถึงมือลูกค้าบวกกับก าไรที่บริษัท
ก าหนดขึ้น บริษัทก าหนดราคาหรือโครงสร้างราคาทั้งในกรณีขายปลีกหรือขายผ่านคนกลาง โดยก าหนดราคาขาย
ปลีก (List price) ส่วนลด (Discounts) ระยะเวลาในการช าระเงิน (Payment period) ระยะเวลาการให้สินเชื่อ
ิ
ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย (Credit terms) โดยพจารณาจากต้นทุนในบริษัทและคู่แข่งในตลาดเป็นหลัก ซึ่งโดย
ส่วนมากแล้วราคาของสินค้านั้นจะถูกก าหนดโดยปัจจัยภายนอกบางอย่างด้วย เช่น ราคาของคู่แข่ง ราคาเฉลี่ยของ
ั
สินค้าในกลุ่มนั้นๆ หรือสภาวะการแข่งขนในขณะนั้น (McCarthy, 1960) อย่างไรก็ตามราคาหรือสิ่งที่ผู้บริโภคต้อง
ื่
จ่ายเพอแลกกับสินค้าและบริการนั้น ผู้ประกอบการจะต้องพจารณาถึงความสามารถในการจ่ายของผู้บริโภคร่วม
ิ
ด้วย เพราะจะมีผลถึงการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคโดยตรง (Sridharan & Viswanathan, 2008)
1.3 ช่องทางการจัดจ าหน่าย (Place)
บริษัทจะต้องขายสินค้าผ่านช่องทางการจัดจ าหน่ายที่จะท าให้เข้าถึงผู้บริโภคได้มากที่สุด (Harris et al.,
2009) การเข้าถึงผู้บริโภคก็จะพจารณาใน 2 ด้าน คือ ความพร้อมของสินค้าและบริการและความสะดวกในการ
ิ
เข้าถึงสินค้าและบริการนั้น (Prahalad, 2012) ซึ่งช่องทางการจัดจ าหน่ายนี้จะต้องค านึงถึง ผู้จัดจ าหน่าย
(Distributor) พนที่ครอบคลุมในการจ าหน่ายนั้น (Coverage) ประเภทหรือขนาดของสินค้าที่จ าหน่าย
ื้
(Assortment) ที่ตั้งของผู้จัดจ าหน่าย (Locations) สินค้าคงคลัง (Inventory) และการขนส่ง (Transport) (Pour
et al., 2013) เป็นต้น สถานที่นี้บางครั้งอาจหมายถึงตัวแทนจ าหน่าย (Dealer) ซึ่งคล้ายคลึงกับบทบาทของผู้จัด
จ าหน่าย (Distributor) หรือบทบาทของผู้จัดจ าหน่ายและผู้ค้าปลีกร่วมกัน ด้วยวิธีนี้ กลุ่มคนที่เรียกว่า “ผู้ค้าส่ง”
(Wholesalers) สามารถซื้อสินค้าจากผู้ผลิตและในขณะเดียวกันก็น าเสนอสินค้าให้กับลูกค้าของตน (Kartajaya &
Darwin, 2010)
1.4 การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
47