Page 33 -
P. 33

ิ
                                                                                 ิ
                                       ิ
                                    ื
                                                    ์
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                ิ


                                                                                                            ื่
                                                   ื่
               การท าการตลาดผานทางแอปพลิเคชันเพอน าเสนอโปรโมชั่นแบบเฉพาะเจาะจงลูกค้า (customization) เพอ
               รักษาฐานลูกค้าและสร้างความจงรักภักดีให้กับลูกค้าอีกด้วย
                       4) Social media marketing จะเป็นการอธิบายการท าการตลาดดิจิทัลผ่าน Social media platform
                                ั
               ต่าง ๆ ซึ่งเป็น 5 อนดับ Social media platform ที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุดในประเทศไทย (ETDA, 2019) ได้แก่
               Youtube LINE Facebook Instagram และ Twitter

                       5) E-mail marketing ซึ่งเป็นการน าเสนอข้อมูลข่าวสารของธุรกิจโดยเจาะจงที่ตัวบุคคลอย่างค่อนข้าง

               เป็นทางการ และยังคงได้ประสิทธิภาพส าหรับธุรกิจในขณะที่ต้นทุนในการท าการตลาดผ่านทาง E-mail ต่ ามาก
               เมื่อเทียบกับการท าการตลาดอย่างอื่น ๆ


                       นอกจากนี้ ผู้เขียนมีความเห็นว่าการท าการตลาดผ่านทางดิจิทัลยังมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วซึ่งสามารถ
               น ามาประยุกต์ใช้กับธุรกิจอาหารได้เป็นอย่างดี ได้แก  ่


                       6) Viral marketing ซึ่งเป็นการตลาดที่ใช้สื่อสารแบบบอกต่อที่กระจายวงกว้างอย่างรวดเร็ว จึงนับว่ามี
               ประโยชน์อย่างมากต่อการกระจายข่าวสารของธุรกิจ ด้วยต้นทุนการกระจายข่าวสารที่แทบเป็นศูนย์

                       7) Influencer marketing เป็นการท าการตลาดผ่านดิจิทัลโดยอาศัยผู้ทรงอทธิพลต่อความคิดและการ
                                                                                      ิ
               ตัดสินใจของกลุ่มเป้าหมายหลักของธุรกิจ

               อุตสำหกรรมอำหำรในประเทศไทย


                       อุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทยมีประวัติศาสตร์อันยาวนานและหลากหลาย ซึ่งมีการพัฒนาต่อเนื่องมา
               หลายศตวรรษ เนื่องจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยตั้งอยู่ ณ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีวัตถุดิบ

                         ุ
               ต่าง ๆ ที่อดมสมบูรณ์ ประกอบกับมีประเพณี วัฒนธรรมการกินที่องตามพนที่ ที่ท าให้อาหารไทยมีความ
                                                                                  ื้
                                                                           ิ
                                                           ั
               หลากหลาย การใช้วัตถุดิบสดใหม่ และความสมดุลอนซับซ้อนของรสสัมผัส และรสชาติที่มีครบทั้ง หวาน เปรี้ยว
                                                            ุ
               เค็ม และเผ็ด  มีความหลากหลายที่โดดเด่น จึงท าให้อตสาหกรรมอาหารในปัจจุบันจึงมีการพฒนาอย่างต่อเนื่อง
                                                                                             ั
               โดยใช้กลยุทธ์การน าเสนอความใหม่ในหลายรูปแบบ (Uasanguankul et al., 2020; Yu, 2016) เข้ามาประยุกต์
               ในอุตสาหกรรมอาหาร รวมถึงมีร้านอาหารหลายรูปแบบ ที่สามารถจัดหมวดหมู่ได้ดังนี้


                       ร้านจ าหน่ายอาหารริมถนน (Street Food Vendors) ผู้จ าหน่ายอาหารริมถนนเป็นส่วนส าคัญของ
               วัฒนธรรมการท าอาหารของประเทศไทย เนื่องจากมีอาหารราคาไม่แพงและมีรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ตามแต่ละ
                 ื้
               พนที่ ลักษณะของร้านแบบนี้จะท าอาหารโดยปรุงสด เตรียมและเสิร์ฟตามท้องถนนหรือในตลาดกลางแจ้ง
               (Chavarria & Phakdee-Auksorn, 2017)


                        ร้านอาหารทั่วไป (Fine Dining Restaurants) ร้านอาหารทั่วไปในประเทศไทย ในกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มใหญ่
               ที่สุดเพราะมีทั้งรูปแบบ ร้านอาหารธรรมดา ตลอดไปจนร้านอาหารที่หรูหรา สามารถมอบประสบการณ์การ

               รับประทานอาหารที่สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าได้ (Threevitaya, 2003)


                                                             31
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38