Page 34 -
P. 34
ิ
ิ
ิ
ื
ิ
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ร้านอาหารแบบเครือแฟรนไซน์ (Francise Restaurants) ประเทศไทยมีร้านอาหารแฟรนไซน์ที่มาจากทั้ง
ในประเทศและต่างประเทศ เพอรองรับผู้ที่ต้องการอาหารในรสชาติที่เคยทานและสะดวกสบายในการใช้บริการ
ื่
ร้านอาหารเครือเหล่านี้มักเสิร์ฟเมนูมาตรฐานและได้รับความนิยมทั้งในหมู่คนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว อกทั้งร้าน
ี
ื่
เหล่านี้มีระบบการท างานและการจัดการที่ถูกออกแบบมา เพอให้ได้มาตรฐานเทียบเท่ากันในทุกสาขา (Hnuchek
et al., 2013)
ร้านอาหารออนไลน์ (Online Food Delivery Restaurants) ร้านอาหารแบบออนไลน์เป็นร้านรูปแบบ
ใหม่ ที่บริการจัดส่งอาหารซึ่งก าลังได้รับความนิยมอย่างสูง ผู้ซื้อสามารถเลือกเมนูอาหารโดยไม่ต้องไปที่ร้าน
เนื่องมาจากการที่สมาร์ทโฟนแพร่หลายอย่างรวดเร็วและอนเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่แพร่หลาย ท าให้บุคคลทั่วไป
ิ
สามารถเรียกดูเมนูอาหารผ่านอปกรณ์หรือสื่อดิจิทัล และสั่งซื้อได้สะดวกยิ่งขึ้นด้วยการแตะเพยงไม่กี่ครั้งบน
ี
ุ
ี
หน้าจอ การเข้าถึงนี้ไม่เพยงแต่ตอบสนองความต้องการของคนเมืองเท่านั้น แต่ยังเข้าถึงผู้อยู่อาศัยในเขตชานเมือง
และชนบทด้วย แพลตฟอร์มร้านอาหารออนไลน์เหล่านี้มีความสะดวกอย่างมาก ท าให้ลูกค้าสามารถเข้าถึง
ตัวเลือกการท าอาหารที่หลากหลาย ตั้งแต่อาหารไทยธรรมดาไปจนถึงอาหารนานาชาติ และมีบริการจัดส่งอาหาร
ื่
ออนไลน์เพอให้มั่นใจว่าลูกค้าสามารถค้นหาเมนูอาหารที่หลากหลายโดยไม่ต้องออกจากบ้าน
(Kitthandeachaorn, 2016)
ผู้เขียนเห็นว่าในแต่ละรูปแบบของร้านอาหารที่กล่าวไปข้างต้น ย่อมมีการบริหารจัดการที่แตกต่างกัน สิ่ง
ส าคัญของธุรกิจในอตสาหกรรมอาหารคือ ใช้กลยุทธ์ตลาดให้เหมาะสมกับประเภทร้านอาหาร ซึ่งการตลาดเป็น
ุ
รากฐานส าคัญของความส าเร็จในอตสาหกรรมร้านอาหาร ซึ่งปัจจุบันมีการแข่งขันที่รุนแรง ความอร่อยของอาหาร
ุ
ุ
ี
เพยงอย่างเดียวไม่สามารถรับประกันความส าเร็จของธุรกิจได้ อตสาหกรรมอาหารไทยในประเทศไทยและทั่วโลก
ได้น ากลยุทธ์ทางการตลาดที่หลากหลายมาใช้ กลยุทธ์เหล่านี้ครอบคลุมทั้งวิธีการแบบดั้งเดิมและแนวทางที่เป็น
นวัตกรรมซึ่งปรับให้เหมาะกับยุคดิจิทัล จากช่องทางการตลาดแบบดั้งเดิมไปจนถึงบทบาทส าคัญของโซเชียลมีเดีย
และการท ากลยุทธ์การตลาดดิจิทัลผ่านช่องทางออนไลน์จึงมีความส าคัญมาก ซึ่งรูปแบบกลยุทธ์ทางการตลาดของ
อุตสาหกรรมอาหารไทยแบบทั่วไป โดยส่วนมากจะแบ่งเป็นดังนี้ (Teeshapotiwarakun & Tananpang, 2022)
์
1. กลยุทธ์การตลาดแบบดั้งเดิม: ร้านอาหารไทยมักใช้กลยุทธ์การตลาดแบบดั้งเดิม เช่น สื่อสิ่งพมพ โบรชัวร์
ิ
ใบปลิว และป้ายโฆษณา วิธีการเหล่านี้ใช้เพื่อเข้าถึงลูกค้าในพื้นที่
2. กลยุทธ์การตลาดที่ร่วมในงานเทศกาลและกิจกรรมทางวัฒนธรรม: ร้านอาหารไทยมักจะเข้าร่วมใน
เทศกาลและกิจกรรมทางวัฒนธรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศเพอแสดงอาหารและสร้างประสบการณ์ให้ลูกคา
ื่
้
ได้ชิมได้ลอง ผ่านการออกบูธ หรือ ออกร้าน
3. กลยุทธ์การตลาดที่สร้างความร่วมมือ: การร่วมมือกับธุรกิจหรือองค์กรอื่นๆ เช่น โรงแรมหรือตัวแทนการ
ท่องเที่ยว ก็จะเป็นกลยุทธ์ทั่วไปในการโปรโมตร้านอาหารไทย
32