Page 18 -
P. 18

ิ
                                                                      ิ
                                                    ์
                                       ิ
                                    ื
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                ิ


                       3. สัญญาณ (Signal) ในการสื่อสารที่เน้นเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง จ าเป็นจะต้องมีสัญญาณที่น าพาสาร
               นั้นส่งต่อไปตามช่องทางถึงผู้รับสาร เช่น สัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณโทรศัพท์

                       4. เสียง หรือสิ่งรบกวน (Noise) คือ คลื่น เสียงหรือสิ่งรบกวนจากภายนอกที่เข้ามารบกวนสัญญาณ ซึ่งจะ
               ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการสื่อสารเป็นอย่างมาก


                                                                       ุ
                       5. เครื่องรับสัญญาณ (Destination) หมายถึง บุคคลหรืออปกรณ์ที่สามารถรับสารที่ส่งมาจากตัวส่ง
               สัญญาณ


                       6. ผู้รับสาร (Receiver) หมายถึง ผู้ที่เป็นกลุ่มหรือบุคคลเป้าหมายในการสื่อสารนั้น




                       สุจิตรา แก้วนวลศรี (2556) ได้กล่าวถึงการสื่อสารดิจิทัลไว้ว่า ในอดีต ผู้ส่งสาร ไม่ว่าจะเป็นบุคคล องค์กร
               หรือรัฐบาลจะเป็นผู้ควบคุมเนื้อหาใจความของสารนั้นๆ โดยผู้รับสารจะไม่มีบทบาทใดๆกับสารนั้น แต่ในยุคที่มี
               การสื่อสารดิจิทัล ผู้รับสารจะมีบทบาทส าคัญมาก เพราะนอกจากจะเป็นผู้รับสารแล้ว ยังท าหน้าที่เป็นผู้ส่งสารและ

               เผยแพร่กระจายข่าวสารนั้นต่อไปอกด้วย จึงได้เกิดค าศัพท์ที่เรียกลักษณะการสื่อสารแบบนี้ว่า “Lifestyle media
                                            ี
               ” ซึ่งเป็นการผสมผสานการสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีดิจิทัลเข้าด้วยกัน โดยผู้รับสารสามารถที่จะสร้างสรรค์

               หรือผลิตสารขึ้นมาได้เองตามความต้องการและความถนัดของผู้รับสารนั้น ซึ่งในกรณีดังกล่าว ผู้รับสารมีสิทฺธิใน
                                                                                  ี
               การควบคุมเนื้อหาของสารและเลือกสื่อที่เหมาะสมในการเผยแพร่สารนั้นต่อได้อกด้วย ดังนั้นในการสื่อสารดิจิทัล
               ผู้รับสารและผู้ส่งสารสามารถสลับบทบาทซึ่งกันและกันได้ตลอดเวลา องค์ประกอบของ Lifestyle media มี
               รายละเอียดดังนี้ (สุจิตรา แก้วสีนวล, 2556)

                       1. เนื้อหาใหม่ โดยเนื้อหาใหม่นี้ ผู้ใช้ (User) จะเป็นคนสร้างสรรค์เนื้อหานี้ขึ้นมาเอง จะเห็นได้ว่า

               Lifestyle media จะไม่ใช้ค าว่า ผู้รับสาร เพราะผู้รับสารจะหมายถึง ผู้ที่รับสารอย่างเดียว แต่จะใช้ค าว่า ผู้ใช้ แทน
               ซึ่งจะสื่อให้เห็นว่า ผู้ใช้สาร จะเป็นได้ทั้ง ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ผู้สร้างสารและผู้เผยแพร่สาร


                       2. ช่องทางใหม่ มีการเปลี่ยนแปลงช่องทางจากสื่อออฟไลน์ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพมพ มาเป็นสื่อ
                                                                                                    ์
                                                                                                 ิ
               ดิจิทัลที่ใช้อินเตอร์เน็ต หรือโทรศัพท์มือถือในการผสมผสานทุกสื่อทุกช่องทาง

                       3. การหาข้อมูลแบบใหม่ ผู้บริโภคจะไม่ใช่ผู้รับสารอย่างเดียว แต่จะเป็นผู้ค้นหาข้อมูลผ่านอนเตอร์เน็ต
                                                                                                    ิ
               เพื่อสร้างสารและส่งสารไปยังผู้อื่นได้อีกด้วย


                       4. การปฎิสัมพันธ์เนื้อหาแบบใหม่ เนื่องด้วยการรับ-ส่งสารได้เปลี่ยนไปเป็นการแลกเปลี่ยน การผสมผสาน
               การสร้างเนื้อหาใหม่หรือการสร้างเนื้อหาใหม่จากเนื้อหาเดิมที่มีอยู่แล้ว

                       โปรอาคิส (Proakis, 2008) และ แมดฮาว (Madhow, 2008) ได้น าเสนอองค์ประกอบของระบบการ

               สื่อสารดิจิทัลไว้ 9 องค์ประกอบดังนี้  (Madhow, 2008; Proakis, 2008)




                                                             16
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23