Page 15 -
P. 15
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
กำรสื่อสำรดิจิทัล (Digital Communication)
เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทส าคัญในการสื่อสารในหลากหลายมิติทั้งการสื่อสารระหว่างบุคคลและ
การสื่อสารระหว่างบุคคลและองค์กรมากขึ้นในชีวิตประจ าวัน รูปแบบของเทคโนโลยีดิจิทัลมีมากมาย ยกตัวอย่าง
ุ
ิ
เช่น การใช้อนเตอร์เน็ตในการออกค าสั่งอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ การน าเทคโนโลยี 3G 4G หรือ 5G เข้ามาใช้กับ
ิ
เครื่องมือการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ การใช้สมาร์ทโฟนเป็นอุปกรณ์เชื่อมต่ออนเตอร์เน็ตที่สามารถทาธุรกรรมต่าง ๆ
ิ
ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว หรือการสื่อสารผ่านโซเชียลมีเดียอานวยความสะดวกให้กับการด าเนินชีวิตของผู้คนใน
ปัจจุบัน และท าให้พฤติกรรมการด าเนินชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ธุรกิจในหลายภาคส่วนหัน
ิ่
มาให้ความส าคัญกับการสื่อสารดิจิทัลและน าการสื่อสารดิจิทัลเข้ามาใช้กับการท าธุรกิจเพมมากขึ้น จะเห็นได้จาก
ธุรกิจต่างๆที่สัมผัสได้ในชีวิตประจ าวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งอตสาหกรรมธุรกิจอาหาร ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงที่
ุ
เกี่ยวเนื่องกับการเข้ามามีบทบาทของการสื่อสารดิจิทัล ยกตัวอย่างเช่น การสร้างเนื้อหาที่แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรม
ในการเตรียมอาหาร การท าอาหารหรือการรับประทานอาหาร การสร้างชุมชนออนไลน์ (Online community)
เพอเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ในการท าอาหาร การสร้างเว็บไซด์หรือโซเชียลมีเดียเพอประชาสัมพนธ์อาหาร เป็น
ื่
ั
ื่
ั
ื่
ต้น นอกจากนี้ยังเกิดกิจกรรมที่ท าผ่านโลกออนไลน์เพอสร้างความสัมพนธ์ระหว่างแบรนด์หรือเจ้าของร้านอาหาร
กับลูกค้าด้วย เช่น การรีวิวอาหาร การจัดอนดับ การให้ดาว ก็นับว่าเป็นกิจกรรมที่ลูกค้าท าผ่านสื่อดิจิทัลใน
ั
ิ
หลากหลายรูปแบบ เช่น บล็อก (Blogs) เฟสบุ๊ก (Facebook) อนสตาแกรม (Instagram) ยูทูป (YouTube) ฯลฯ
จนกลายเป็นพฤติกรรมปกติธรรมดาของคนในยุคนี้และส่งผลต่อการเติบโตของธุรกิจอาหารในปัจจุบันเป็นอย่างยิ่ง
(Lupton & Feldman, 2020)
นอกจากนี้ การสื่อสารดิจิทัลในอตสาหกรรมอาหารหรือเรียกอกอย่างหนึ่งว่า “Digital Food” (Lewis,
ี
ุ
2018) ยังครอบคลุมธุรกิจอาหารในหลาย ๆ ด้าน เช่น การฝึกหัดการท าอาหาร เทคโนโลยีอาหาร การอภิปราย
เกี่ยวกับอาหาร หรือค่านิยมทางอาหารอกมากมาย เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารยังคงมีการพฒนาการอย่าง
ี
ั
ต่อเนื่อง วิวัฒนาการไปเป็นการสื่อสารดิจิทัลรูปแบบต่าง ๆ เช่น การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในภาคการเกษตร
(Hatfield et al., 2008) การเติบโตของแอพพลิเคชันที่มีพนฐานจากการวิจารณ์อาหาร (Rousseau, 2012) การ
ื้
เติบโตในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลส าหรับการควบคุมอาหารและปัญหาโรคอ้วน (Choi & Graham, 2014; Keeney
et al., 2016) หรือรูปแบบการเขียนบล็อกอาหารจากบล็อกเกอร์ต่าง ๆ (De Solier, 2013)
ควำมหมำยของกำรสื่อสำรดิจิทัล
เกรวัลและคณะ (Grewal et al., 2022) ได้ให้ความหมายของการสื่อสารดิจิทัลว่า การสื่อสารดิจิทัล
หมายถึง การส่งผ่านข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลและมีอทธิพลต่อการรับรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมและเส้นทางการ
ิ
จับจ่ายซื้อของ (Shopping journeys) ของผู้บริโภค (Grewal et al., 2022)
13