Page 12 -
P. 12

ิ
                                       ิ
                                                ิ
                                                    ์
                                    ื
                                                                                 ิ
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                           บทที่ 1


                                    ทฤษฎีกำรสื่อสำร (Theories of Communication)
               ทฤษฎีกำรสื่อสำร


                       การสื่อสาร เป็นพฤติกรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ ซึ่งถือเป็นพฤติกรรมที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตอยู่ในสังคมที่
               จะต้องมีการสื่อสารความรู้สึก ความรู้ ความต้องการของตนเองให้กับคนอนๆในสังคม โดยการสื่อสารแบ่งออกได้
                                                                            ื่
               เป็น 3 ประเภท (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2566) ดังนี้


                       1. การสื่อสารภายในตนเอง (Intrapersonal communication) เป็นพฤติกรรมการสื่อสารที่เกิดขึ้น
               ตลอดเวลาซึ่งมนุษย์ทุกคนกระท าโดยอาจจะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม เสมือนเป็นการบอกกับตนเองถึงเหตุการณ์หรือเรื่อง

               ใดเรื่องหนึ่ง เปรียบเสมือนการคิดในใจหรือพูดกับตนเอง ตัวอย่างเช่น วันนี้เมื่อถึงที่ท างานแล้ว เราจะท าอะไรก่อน
               หรือ เย็นนี้หลังจากเลิกงานแล้ว เราต้องแวะซื้อของอะไร เป็นต้น การสื่อสารในตนเองนี้ นับว่าเป็นการสื่อสารขั้น

                                                                            ื้
               พนฐานของการสื่อสารในล าดับต่อๆไป ถึงแม้จะเป็นการสื่อสารขั้นพนฐาน แต่การสื่อสารภายในตนเองมี
                 ื้
               ความส าคัญมาก เนื่องจากการตัดสินใจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งมักเกิดมาจากการสื่อสารภายในตนเอง ซึ่งคุณภาพ
               การสื่อสารภายในจะดีหรือไม่ประกอบด้วยปัจจัยหลายอย่าง เช่น ทัศนคติ พนฐานการเลี้ยงดู พนฐานการศึกษา
                                                                                               ื้
                                                                               ื้
               ประสบการณ์ที่ได้รับ สิ่งแวดล้อมหรือองค์ประกอบภายนอกที่ส่งผลต่อความรู้สึกนึกคิดของบุคคลผู้นั้น

                       2. การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal communication) เป็นพฤติกรรมการสื่อสารที่เกิดขึ้น

                                     ี
               ระหว่างบุคคลหนึ่งไปยังอกคนหนึ่ง มักเป็นการสื่อสารที่บ่งบอกถึงความรู้สึก ความคิดและสิ่งที่เป็นผลมาจากการ
               สื่อสารภายในตนเองเพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ การสื่อสารระหว่างบุคคลแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ ได้แก  ่


                              2.1 การสื่อสารระหว่างบุคคลแบบทางเดียว (One-way communication) เป็นการสื่อสารทาง
               เดียวจากผู้ส่งสาร (Sender) ไปยังผู้รับสาร (Receiver) ผ่านทางช่องทางการสิ่อสาร (Communication channel)

               ดังแสดงในภาพที่ 1.1












                       ภาพที่ 1.1 การสื่อสารระหว่างบุคคลแบบทางเดียว

                       ที่มา: (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2566)

                              2.2 การสื่อสารระหว่างบุคคลแบบสองทาง (Two-way communication) เป็นการสื่อสารแบบ

               สองทาง ซึ่งมีองค์ประกอบเหมือนการสื่อสารทางเดียวคือมีการสื่อสารจากผู้ส่งสาร ไปยังผู้รับสาร ผ่านช่องทางการ



                                                             10
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17