Page 13 -
P. 13

์
                                       ิ
                                                                                 ิ
                                                                      ิ
                                                ิ
                                    ื
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


               สื่อสาร แต่มีการส่งสารกลับจากผู้รับสารไปยังผู้ส่งสารอกด้วย จะเห็นได้ว่าการสื่อสารแบบสองทางนี้ ทั้งผู้รับสาร
                                                             ี
               และผู้ส่งสารก็สามารถเปลี่ยนบทบาทมาเป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารได้ ดังแสดงในภาพที่ 1.2











                       ภาพที่ 1.2 การสื่อสารระหว่างบุคคลแบบสองทาง
                       ที่มา: (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2566)


                       3. การสื่อสารมวลชน (Mass communication) เป็นการสื่อสารถึงคนกลุ่มใหญ่ ซึ่งการสื่อสารประเภทนี้
               มีความซับช้อนมากกว่าการสื่อสาร 2 ประเภทข้างต้น ต้องใช้ทักษะต่างๆเข้ามาช่วยเพอให้การสื่อสารมี
                                                                                             ื่
               ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามการสื่อสารประเภทนี้ก็ยังคงใช้พื้นฐานการสื่อสารภายในตนเองและการสื่อสารระหว่าง

                                                              ิ
               บุคคลเข้ามาร่วมด้วย นอกจากนี้ยังมีปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอทธิพลต่อรูปแบบของการสื่อสารมวลชน เช่น วัฒนธรรม
               ท้องถิ่น ประเพณีนิยมในพื้นที่ และการให้คุณค่าทางสังคมของแต่ละชุมชน


               องค์ประกอบของกำรสื่อสำร

                       เบอร์โล (Berlo, 1960) ได้น าเสนอแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของการสื่อสารว่า การสื่อสารมี

               องค์ประกอบหลักๆ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ แหล่งก าเนิดสาร (Source) สาร (message) ช่องทางการสื่อสาร
               (Communication channel) และผู้รับสาร (Receiver) หรือที่เรียกว่า รูปแบบการสื่อสารแบบ S-M-C-R (Berlo,

               1960) ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบดังนี้

                       1. แหล่งก าเนิดสาร (Source) หรือผู้ส่งสาร (Sender) ซึ่งเป็นได้ทั้ง บุคคล กลุ่มคน หรือองค์กร ก็ได้ ใน

               การส่งสาร ผู้ส่งสารจะแสดงตัวต่อหน้าผู้รับสารหรือไม่ก็ได้ ยกตัวอย่าง เช่น การพดต่อหน้า ผู้รับสารและผู้ส่งสาร
                                                                                   ู
               จะเห็นซึ่งกันและกัน แต่ในกรณีที่ผู้รับสารอ่านบทความหรือฟงข่าวจากวิทยุกระจายเสียง ผู้รับสารไม่สามารถเห็นผู้
                                                                  ั
               ส่งสารได้ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยต่าง ๆ ของผู้ส่งสารที่ส่งผลต่อการสื่อสารได้ เช่น 1. ทักษะการสื่อสาร

               (Communication skill) ของผู้ส่งสารเอง ว่ามีทักษะกาพด การอาน การเขียนดีเพยงใด ซึ่งถ้าผู้ส่งสารมีทักษะ
                                                                ู
                                                                       ่
                                                                                     ี
               เหล่านี้ดี ก็จะส่งผลให้ท าการสื่อสารได้ดี 2. ทัศนคติ (Attitude) ของผู้ส่งสาร เมื่อผู้ส่งสารมีทัศนคติที่ดี ก็จะมีความ
               ตั้งใจที่จะหาข้อมูล เตรียมข้อมูลและสื่อสารข้อมูลนั้นออกไปอย่างตั้งใจ รวมทั้งสีหน้าและท่าทางที่จะเป็นผลไปใน
               ทางบวก ส่งผลต่อคุณภาพในการสื่อสารนั้นด้วย 3. พื้นฐานความรู้ (Knowledge) ของผู้ส่งสาร ถ้าผู้ส่งสารมีความรู้
               เกี่ยวกับเรื่องที่จะส่งสารนั้นดี ก็จะส่งผลต่อเนื้อหาที่ครบถ้วนสมบูรณ์ของสารนั้นๆ และส่งผลต่อคุณภาพของการ

               สื่อสารด้วย 4. โครงสร้างทางสังคม (Social structure) ต าแหน่งในโครงสร้างทางสังคมของผู้ส่งสารส่งผลอย่างยิ่ง
               ต่อความน่าเชื่อถือของการสื่อสารนั้น ถ้าผู้ส่งสารมีต าแหน่งทางสังคมที่สูงย่อมส่งสารที่มีความน่าเชื่อถือมากกว่าผู้ที่

               อยู่ในต าแหน่งทางสังคมที่ต่ า อีกทั้งผู้ที่มีต าแหน่งทางสังคมที่สูงย่อมมีความรู้และทักษะที่มากกว่าผู้ที่มีต าแหน่งทาง



                                                             11
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18