Page 14 -
P. 14

ื
                                       ิ
                                                                                 ิ
                                                    ์
                                                                      ิ
                                                ิ
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


               สังคมต่ ากว่าอยู่แล้ว จึงท าให้คุณภาพของการสื่อสารดีกว่าด้วยเช่นกัน 5. วัฒนธรรม (Culture) หากผู้ส่งสารมี
               ความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมของผู้รับสารเป็นอย่างดีแล้ว ย่อมสามารถที่จะสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
               โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัฒนธรรมในสังคมหนึ่งๆ มักมีรากฐานมาจากศาสนา ซึ่งก าหนดวิถีการด าเนินชีวิต คุณค่า และ
               กฏเกณฑ์ที่ยึดถือปฎิบัตของผู้คนในสังคมนั้น ๆ ผู้ส่งสารจึงต้องมีความเข้าใจต่อวัฒนธรรมของผู้รับสารเป็นอย่างดี


                       2. สาร (Message) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีความส าคัญอย่างมากในการสื่อสาร ซึ่งประกอบด้วยส่วน
               ส าคัญ 3 ส่วน ดังนี้ 1. หน่วยค า (Element) ซึ่งผู้ส่งสารจะต้องเลือกใช้ค าศัพท์ในการสื่อสารให้เหมาะสมกับผู้รับ

               สาร 2. การเรียบเรียงข้อความ (Treatment) เป็นความสามารถของผู้ส่งสารที่จะเรียบเรียงค าและข้อความให้เกิด
               สารที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และ 3. เนื้อหาสาระ (Content) หมายถึง ข้อความหรือสาระส าคัญที่สารนั้นต้องการ

               สื่อไปถึงผู้รับสาร

                       3. ช่องทางการสื่อสาร (Communication channel) การก าหนดช่องทางการสื่อสารนั้น ผู้ส่งสารจะต้อง

               เลือกรูปแบบของประสาทรับรู้ที่ผู้รับสารจะใช้ เช่น รับสารด้วยการมองเห็น (Seeing) การสัมผัส (Touching) การ
               ฟง (Hearing) หรือการลิ้มรส (Testing) หลังจากนั้นจึงสามารถก าหนดช่องทางให้เหมาะสมต่อประสาทรับรู้นั้น
                 ั
               เช่น ถ้าต้องการให้ผู้รับสารได้รับสารในรูปแบบการมองเห็นและได้ยิน ผู้ส่งสารก็ต้องใช้ช่องทางสื่อสารในรูปแบบ

               คลิป VDO หรือภาพยนตร์ ทั้งนี้การก าหนดช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมต่อรูปแบบของประสาทรับรู้ที่ผู้รับสารใช้
               มีส่วนส าคัญเป็นอย่างมากต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร


                       4. ผู้รับสาร (Receiver) มีความส าคัญพอๆกับผู้ส่งสาร และมีปัจจัยที่ส่งผลต่อการสื่อสารเหมือนๆกับผู้ส่ง
               สาร ทั้งในเรื่องของทักษะการสื่อสาร ทัศนคติ พื้นฐานความรู้ โครงสร้างทางสังคม และวัฒนธรรม ซึ่งส่งผลต่อการ

               รับสารของผู้รับสารทั้งสิ้น



                       ลาสเวลล์ (Lasswell, 1971) ได้มีการน าเสนอแนวคิดองค์ประกอบของการสื่อสารในรูปแบบของค าถาม

               ดังต่อไปนี้ (Lasswell, 1971)

                       1. ใคร (Who?) หมายถึง ใครเป็นผู้ส่งสารนี้ มีรูปร่างลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างไร


                       2. กล่าวอะไร (Says what?) หมายถึง สารที่จะส่งนั้นคืออะไร มีเนื้อหารายละเอียดอย่างไร

                       3. ผ่านช่องทางไหน (in what channel?) หมายถึง การสื่อสารนี้ผ่านช่องทางหรือสื่อรูปแบบไหน


                       4. แก่ใคร (to whom?) หมายถึง ผู้รับสารเป็นใคร มีรูปร่างลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างไร

                       5. เพื่อจุดประสงค์อะไร (with what Effect?) หมายถึง การสื่อสารนี้ ผู้ส่งสารต้องการให้เกิดผลอย่างไร


                       จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้น ผู้เขียนสรุปได้ว่าองค์ประกอบของการสื่อสารจะประกอบไปด้วย ผู้ส่ง
               สาร ผู้รับสาร สาร และช่องทางการสื่อสาร เป็นองค์ประกอบหลัก



                                                             12
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19