Page 17 -
P. 17

ิ
                                                ิ
                                    ื
                                                    ์
                                                                                 ิ
                                                                      ิ
               โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



               ควำมส ำคัญของกำรสื่อสำรดิจิทัลในอุตสำหกรรมอำหำร


                                                                     ุ
                       การสื่อสารดิจิทัลได้ถูกน ามาใช้ในการท าการตลาดในอตสาหกรรมอาหารอย่างกว้างขวาง ในปัจจุบัน
               ลักษณะของการเกี่ยวข้องระหว่างผู้บริโภคกับอาหารในโลกดิจิทัลมีเพมมากขึ้น จากการท าอาหารที่บ้านไปจนถึง
                                                                         ิ่
               การไปร้านอาหาร ตั้งแต่การท าฟาร์มไปจนถึงการเมืองด้านอาหาร โลกของอาหารก าลังถูกครอบง าอย่างเงียบ ๆ
                           ิ
                                                             ื้
                    ุ
               ด้วยอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มากมาย ในขณะเดียวกันพนที่ในโลกดิจิทัลก็ถูกบุกรุกโดยทุกสิ่งที่เกี่ยวข้องกับอาหาร
               โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพถ่ายอาหารประเภทต่าง ๆ ที่มีมากมายไม่มีที่สิ้นสุดบน Facebook และ Instagram ไป
               จนถึงช่องการท าอาหารและอาหารบน YouTube ถือเป็นประเภทของการสื่อสารดิจิทัลในธุรกิจอาหารที่เติบโตเร็ว

               ที่สุดในบริการแบ่งปันวิดีโอตามข้อมูลของ Google (Kantchev, 2014) กลุ่มคนที่เกิดช่วงปี พ.ศ. 2527-2539 หรือ
               เรียกอกอย่างหนึ่งว่า Gen Y เป็นกลุ่มคนที่เติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยี เป็นกลุ่มคนที่เริ่มน าทัศนคติของการน า
                     ี
               เทคโนโลยีมาใช้กับการท าอาหารในครัว กลุ่ม Gen Y จะใช้โทรศัพท์มือถือเข้ามาช่วยในการตัดสินใจในทุก ๆ
               ขั้นตอนของการท าอาหาร ตั้งแต่เรียนรู้วิธีการเตรียมอาหาร ไปจนถึงการท าอาหารหรืออบขนมและมักจะมี
               เครื่องมือเครื่องใช้ในการท าอาหารที่ล้ าสมัยหรือเครื่องมือเครื่องใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วยในการท าอาหารนั้น ๆ ด้วย

               เสมอ (Cooper, 2015)  ท าให้เนื้อหาของการท าอาหารนั้นๆ ดูน่าสนใจและได้รับความนิยมในโลกดิจิทัลมากยิ่งขึ้น
               อกวิธีการที่ส าคัญประการหนึ่งที่ท าให้ 'อาหารดิจิทัล' กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ าวันของเราก็คือ มีการ
                 ี
               ผลิตและการเผยแพร่ภาพอาหารโดยนักถ่ายภาพมือสมัครเล่นทางออนไลน์และประกอบกับการเข้าถึงง่ายของ
               แพลตฟอร์มดิจิทัลต่าง ๆ ที่เป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ เราจึงได้เห็นรูปภาพอาหารโดยนักถ่ายภาพมือสมัครเล่น
               เพมมากขึ้นในหลากหลายรูปแบบ เช่น การถ่ายเซลฟในมุมต่าง ๆ หรือแม้แต่การถ่ายภาพอาหารกับสัตว์เลี้ยง
                  ิ่
                                                             ี่
               (Cruz & Thornham, 2015; Murray, 2008). การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลมีผลกระทบในชีวิตของผู้คนจ านวนมาก
               บนโลกนี้ เป็นแรงบันดาลใจ เป็นการแลกเปลี่ยนความเห็นและสะท้อนมุมมองแนวคิดต่างๆจ านวนมาก มีงานวิจัย

                                                 ิ่
                                                                                                    ั
               จ านวนมากที่พยายามศึกษาบทบาทที่เพมขึ้นของดิจิทัลในการก าหนดชีวิตประจ าวันในบ้าน ความสัมพนธ์ระหว่าง
               บุคคล และแนวทางปฏิบัติของผู้บริโภค ดังนั้นอตสาหกรรมอาหารถือเป็นพนที่ต้นก าเนิดเพอให้เข้าใจถึง
                                                          ุ
                                                                                                 ื่
                                                                                   ื้
               วิวัฒนาการที่ซับซ้อนและผลกระทบของการสื่อสารในโลกดิจิทัลในชีวิตประจ าวันของเรา ตลอดจนวัฒนธรรม
               สาธารณะและการเมืองวงกว้างได้เป็นอย่างดี (Lewis, 2018)



               องค์ประกอบของกำรสื่อสำรดิจิทัล


                                                                                  ื้
                       แชนนอน (1998) ได้น าเสนอองค์ประกอบของการสื่อสารที่มีแนวคิดพนฐานไปทางด้านอเล็กทรอนิกส์
                                                                                                  ิ
               องค์ประกอบ     6    คมนาคม โดยมีการน าเสนอองค์ประกอบ ดังต่อไปนี้  (Shannon, 1998)
                       1. ผู้ส่งสาร (Source) หรือแหล่งสาร คือแหล่งที่เป็นต้นก าเนิดของสารที่ต้องการจะสื่อ


                       2. ตัวส่งสัญญาณ (Transmitter) คือ ตัวกลางในการน าสารนั้นส่งต่อไปถึงผู้รับสาร


                                                             15
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22