Page 92 -
P. 92
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
90
ตารางที่ 2-1 เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยโปรตีน
เอนไซม์ สารกระตุ้น เอนไซม์ บริเวณที่ พันธะเปปไทด์ที่ถูก
ออกฤทธิ์ เอนไซม์ ย่อย
ออกฤทธิ์
Pepsinogen H+, Pepsin Pepsin กระเพาะ ด้านหมู่ไนโตรเจนของ
อาหาร กรดอะมิโนชนด
ิ
อะโรมาทิก
Trypsinogen Enterokinase, Trypsin ล าไส้เล็ก ด้านหมู่คาร์บอกซิ
Trypsin ลของกรดอะมิโนที่
เป็นเบส
Chymotrypsinogen Trypsin, Chymotrypsin ล าไส้เล็ก ด้านหมู่คาร์บอกซิ
Chymotrypsin ลของกรดอะมิโนที่
เป็นชนิด
อะโรมาทิก
Procarboxy- Trypsin Procarboxy- ล าไส้เล็ก กรดอะมิโนที่เป็นชนิด
Peptidase-A Peptidase-A อะโรมาทิกและอะลิ
ฟาทิกที่อยู่ปลาย
คาร์บอน
Procarboxy- Trypsin Procarboxy- ล าไส้เล็ก กรดอะมิโนที่เป็นเบส
Peptidase-B Peptidase-B ที่อยู่ปลายคาร์บอน
Proelastase Trypsin Elastase ล าไส้เล็ก ด้านหมู่คาร์บอกซิ
ลของกรดอะมิโนที่
เป็นกลาง
อาหารโปรตีนเริ่มต้นย่อยในกระเพาะอาหาร โดยกรดเกลือจากกระเพาะท าหน้าที่ท าลายสภาพ
ธรรมชาติของโปรตีนและกระตุ้นเปปซิโนเจนให้เป็นเปปซิน ผลิตผลที่ได้จากการย่อยโปรตีนที่กระเพาะ
เป็นเปปไทด์สายยาว มีกรดอะมิโนอิสระบ้างแต่ไม่มาก การย่อยในกระเพาะอาหารไม่ช่วยให้ได้สารที่ดูด
ซึมได้ แต่สารเหล่านี้จะไปกระตุ้นให้มีการหลั่งโคลีซิสโทไคนิน (Cholecystoknin, CCK) ซึ่งจะไปกระตุ้น
ให้มีการหลั่งน้ าย่อยจากล าไส้เล็กและตับอ่อน ที่ล าไส้เล็กอาหารโปรตนส่วนใหญ่ถูกย่อยอย่างสมบูรณ์ได้
ี
บทที่ 2 สารอาหารและเมตาบอลิซึมในร่างกายสัตว์