Page 88 -
P. 88

ิ
                                              ิ
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                   ื
                                                ์
                                                                           ิ
                                                                 ิ
                                                           86

                         โดยปกติแล้วการสร้างคีโตนบอดี้ที่ตับและการสลายที่ไตและกล้ามเนื้อจะมีอัตราเร็วพอๆ  กัน
                                                                            ิ
                  ท าให้คีโตนบอดี้ในเลือดมีปริมาณที่ต่ ามาก  แต่ในกรณีที่มีความผิดปกต  เช่น  ในกรณีที่ตัวสัตวที่มีความ
                                                                                                ์
                  ผิดปกติในด้านเมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตหรืออยู่ในสภาวะที่อดอาหาร       เซลไม่สามารถใช้
                  คาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งของพลังงานได้ เซลจะใช้ไขมันที่สะสมอยู่ ท าให้เกิด Acetyl CoA มากกว่าปกติ

                                         ี้
                  และท าให้ตับสร้างคีโตนบอดมาก นอกจากนี้ถ้าหากไตและกล้ามเนื้อไม่สามารถใช้คีโตนบอดี้ได้ทัน จะท า
                  ให้มีคีโตนบอดี้สะสมในเลือดและในร่างกายมาก อาการผิดปกติเช่นนี้เรียกว่า “คีโตซิส (Ketosis)”









































                  ภาพที่ 2-11 การสังเคราะห์คีโตนบอดี้




                         2.4 การสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์ (Biosynthesis of triglyceride)
                         การสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์จะเกิดขึ้นที่ตับและเนื้อเยื่อไขมันเป็นส่วนใหญ่ โดยการสังเคราะห์

                  จากกลีเซอรอล โดยอาศัยเอนไซม์ Glycerol kinase และรับหมู่ฟอสเฟตจาก ATP ได้ Glycerol-3-

                  phosphate ดังนี้
                                Glycerol + ATP         L-Glycerol-3-phosphate + ADP





                   บทที่ 2   สารอาหารและเมตาบอลิซึมในร่างกายสัตว์
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93