Page 91 -
P. 91
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
์
ิ
ิ
ิ
89
จากกระเพาะอาหารล าไส้และตับอ่อน พบว่าส่วนใหญ่ถูกสังเคราะห์ในรูปของเอนไซม์ต้นก าเนิด เรียกว่า
“โพรเอนไซม์หรือไซโมเจน (Zymogen)” ก่อน ซึ่งยังไม่สามารถท างานได้ ต่อเมื่อร่างกายต้องการใช้
เอนไซม์เหล่านี้ย่อยอาหารโปรตีนจึงจะมีการเปลี่ยนโครงสร้างหรือโครงรูปที่ว่องไวต่อการท างาน
(Active enzyme) ทั้งนี้เป็นการป้องกันไม่ให้เอนไซม์ย่อยโปรตีนของเซลล์ล์กระเพาะอาหารหรือล าไส้
ขณะที่หลั่งออกมา ตัวอย่างเช่น เอนไซม์เปปซินถูกหลั่งออกมาจากกระเพาะอาหารในรูปเปปซินโนเจน
มีขนาดน้ าหนักโมเลกุล 40,000 เมื่อถูกกระตุ้นโดยกรดในกระเพาะอาหารและการย่อยของเปปซินเอง
ท าให้มีการตัดกรดอะมิโนบางส่วนออก (42 หน่วยของกรดอะมิโน) ได้เอนไซม์เปปซินที่มีน้ าหนักโมเลกุล
33,000 และสามารถย่อยโปรตีนในอาหารได้ ส าหรับเอนไซม์จากกตับอ่อนก็อยู่ในรูปของโพรเอนไซม์
เช่นกัน เอนไซม์มีความจ าเพาะในการย่อยโปรตีนต่างกัน ความจ าเพาะของเอนไซม์แต่ละชนิด (ภาพที่
2-12 และตารางที่ 2-1)
ภาพที่ 2-12 กระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโนและโปรตีน
ที่มา: https://www.nature.com/articles/nrendo.2016.104 1 ธันวาคม 2560
บทที่ 2 สารอาหารและเมตาบอลิซึมในร่างกายสัตว์