Page 52 -
P. 52

ื
                                                                 ิ
                                                                           ิ
                                                ์
                                     ิ
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                              ิ
                                                           50

                         แหล่งของทองแดง  คือ  ในอาหารสัตว์มักจะมีแร่ธาตุทองแดงในปริมาณสูงเพียงพอที่จะป้องกัน

                  การขาดธาตุนี้ได้  ยกเว้นในกรณีที่พืชอาหารสัตว์นั้นปลูกบนดินที่ขาดแร่ธาตุทองแดงและมีระดับโมลิบดินั่ม

                  และซัลเฟตสูง     ท าให้พืชชนิดนั้นมีธาตุทองแดงต่ า   ในน้ านมจะมีแร่ธาตุทองแดงในปริมาณน้อย

                  เช่นเดียวกับแร่ธาตุเหล็ก  ซึ่งลูกสัตว์ระยะดูดนมแม่มักมีอาการโรคโลหิตจาง  จึงจ าเป็นจะต้องมีการเสริม

                  ทั้งแร่ธาตุเหล็กและทองแดง แร่ธาตุทองแดงที่นิยมเสริมในอาหารสัตว์ คือ ทองแดงซัลเฟต ทองแดงไน

                  เตรท ทองแดงคลอไรด์และทองแดงคาร์-บอเนท ส่วนแร่ธาตุทองแดงในรูปของสารประกอบซัลไฟต์และ

                  ออกไซด์ สัตว์สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ต่ า แร่ธาตุทองแดงอาจจะก่อความเป็นพิษ เมื่อมีปริมาณมาก

                  เกิน 250 พีพีเอ็ม และใช้เลี้ยงสัตว์เป็นเวลานาน นอกจากนี้การขาดสังกะสี เหล็กและแคลเซียมจะเพิ่ม

                  ความเป็นพิษของทองแดง




                         ไอโอดีน (Iodine, I)


                         ไอโอดีนส่วนใหญ่ที่พบในร่างกายจะอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ โดยเป็นองค์ประกอบของฮอร์โมนไทรอก

                  ซีน (Thyroxine, T 4) และ ไตร-ไอโอโดไทรอกซิน (Tri-iodothyrosine, T 3) มีหน้าที่กระตุ้นการ

                  สังเคราะห์เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมตาบอลิซึมพลังงาน ท าหน้าที่ในการกระตุ้นการ

                  เจริญเติบโตของสัตว์ ในระยะที่เป็นตัวอ่อนและระยะเจริญเติบโตหลังคลอด โดยมีบทบาทในการแบ่งเซล

                  การท างานของกล้ามเนื้อและระบบประสาท ควบคุมและกระตุ้นการหลั่งของฮอร์โมนชนิดอื่นๆและเพื่อ

                  การสืบพันธุ์ด้วย

                         ปริมาณไอโอดีนมีค่าค่อนข้างแปรปรวนขึ้นอยู่กับปริมาณไอโอดีนที่สัตว์ได้รับจากอาหาร โครีด

                  นมและโคพักรีดนมควรมีไอโอดีนในสูตรอาหารรวม 0.5-0.6 พีพีเอ็ม และ 0.25 พีพีเอ็ม หรือเติมเกลือ

                  ไอโอดีนที่ระดับ 0.01% ในแร่ธาตุก้อน



                         แหล่งของไอโอดีน คือ ส่วนใหญ่จะพบแร่ธาตุไอโอดีนในปลาป่น เกลือไอโอไดด์ 1% (มีไอโอดีน

                  ประกอบอยู่ 0.0076%) และ Thymol iodide (C 4H 24I 2O 2) ส่วนในพืชจะมีปริมาณไอโอดีนผันแปรมาก

                  ขึ้นอยู่กับปริมาณไอโอดีนในดินที่ปลูก ท าให้ปริมาณไอโอดีนในอาหารไม่แน่นอน ดังนั้นจ าเป็นต้องเสริม

                  ไอโอดีนในรูปโพแทสเซียมไอโอไดน์ในปริมาณที่สัตว์ต้องการ เพื่อป้องกันการขาดไอโอดีน นอกจากนี้ยัง

                  มีการใช้ไอโอดีนในรูปของแคลเซียมไอโอเดต (Calcium iodate) และเพนตะแคลเซียม ออโธเพอริเดต







                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57