Page 50 -
P. 50

ิ
                                                                 ิ
                                                ์
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                              ิ
                                     ิ
                                   ื
                                                           48

                         คลอรีน (Chlorine, Cl)


                         คลอรีนเป็นแร่ธาตุประจุลบที่มีมากที่สุดในร่างกาย  ส่วนมากกระจายอยู่ในของเหลวภายนอก

                  เซลล์  (Extracellular  fluid)  เช่น  ในพลาสม่า  ในน้ าหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง  (Cerebospinal

                  fluid)  และในของเหลวที่ปกป้องและบ ารุงเลี้ยงในระบบประสาทส่วนกลาง  ระดับคลอรีนในพลาสม่ามี

                  ค่าอยู่ในช่วงประมาณ 95-110 mmol/L (3.3-3.9 g/L)

                         บทบาทของคลอรีน  คือ  มีบทบาทในการควบคุมระดับความเป็นกรด-ด่างของของเหลวใน

                  ร่างกายมีส่วนร่วมในการรักษาสมดุลความดันออสโมซีส   มีความจ าเป็นในการกระตุ้นการสังเคราะห์

                  เอนไซม์หลายชนิด  และเป็นส่วนประกอบของกรดไฮโดรคลอริค  (HCL)  ในกระเพาะอาหารซึ่งมี

                  ประโยชน์ต่อการย่อยอาหาร  โดยการสร้างกรดไฮโดรคลอริคในกระเพาะอาหารนั้นเกิดจากการที่คลอรีน

                                                                                                      +
                  ไอออนซึมผ่านเข้าไปในเซลล์ที่มีการผลิตน้ าย่อยในกระเพาะอาหาร  (gastric  juice)  ซึ่งมีปริมาณ  H
                         -
                  และ Cl ที่สมดุลกัน นอกจากนี้คลอรีนยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการเคลื่อนย้ายโซเดียมและการดูด
                  ซึมกลับโซเดียมที่ไต


                         แหล่งของคลอรีน คือ คลอรีนที่พบในอาหารจากพืชส่วนใหญ่จะมีคลอรีนระดับต่ า วัตถุดิบจาก

                  สัตว์หรือจากปลาจะมีคลอรีนในระดับสูงพอสมควร  แหล่งคลอรีนที่นิยมใช้ในอาหารสัตว์มาก  คือ  เกลือ

                  โซเดียมคลอไรด์ (Nacl) การเสริมเกลือในอาหารสัตว์มีความจ าเป็นมาก โดยเฉพาะในช่วงให้ผลผลิต เช่น

                                                                                       ์
                  ช่วงการให้น้ านมของโคนมและช่วงที่มีการสร้างไข่ของไก่ไข่  ซึ่งในระยะดังกล่าวสัตวจะมีความเครียดสูง
                  จ าเป็นต้องเสริมเกลือโซเดียมคลอไรด์ให้เพียงพอ   นอกจากนี้เกลือยังมีความส าคัญมากในอาหารไก่ไข่

                  โดยช่วยไม่ให้ไก่เกิดการจิกขนและจิกกันเอง






                         ก ามะถัน (Sulfur, S)


                         ก ามะถันพบได้ทั่วไปในเซลร่างกายสัตว์ เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของกรดอะมิโนหลายชนิดที่มี

                  ก ามะถันเป็นองค์ประกอบ (Sulfur-containing amino acids) เช่น เมทไธโอนีน (Methionine) ซีสตีน

                  (Cystein) และซีสเตอีน (Cysteine) ก ามะถันประกอบอยู่ในไวตามิน เช่น ไวตามินบี 1 และไวตามินบี 7

                  ก ามะถันเป็นสารประกอบของคาร์โบไฮเดรต เช่น มูโคโพลีแซคคาไรด์ (Mucopolysaccharide) ใน

                  เนื้อเยื่อเกี่ยวพันกับในน้ าเมือกหล่อลื่นต่างๆ (Mucus) ก ามะถันเป็นส่วนประกอบของทอรีน (Taurine)





                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55