Page 51 -
P. 51

ิ
                                                                           ิ
                                                ์
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                              ิ
                                     ิ
                                   ื
                                                           49

                  กลูตาไทโอน (Glutathione) กรดลาโปอิก (Lapoic acid) คลอโดรทินซัลเฟต (Chondroitin sulfate)

                  ฮอร์โมนอินซูลินก็มีก ามะถันเป็นองค์ประกอบด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ในน้ านม เล็บและขนสัตว์ซึ่งมี

                  ซีสตีนอยู่มาก ก็จะมีก ามะถันเป็นองค์ประกอบอยู่มากด้วย ก ามะถันที่อยู่ในร่างกายในรูปอนินทรีย์ เช่น

                  รูปซัลเฟตจะพบปริมาณเล็กน้อยในกระแสเลือด

                         เนื่องจากร่างกายสัตว์ได้รับโปรตีนจากอาหารอยู่แล้ว  จึงเป็นผลให้ได้รับก ามะถันพร้อมไปด้วย

                  ท าให้ลักษณะอาการขาดก ามะถันเกิดขึ้นไม่เด่นชัด  ส่วนใหญ่การขาดก ามะถันมักแสดงออกถึงการขาด

                  โปรตีน  อย่างไรก็ตามในระยะที่สัตว์งอกขนหรือผลิตขนจะมีความต้องการก ามะถันมากกว่าปกติ  จ าเป็น

                  จะต้องให้ก ามะถันในรูปโปรตีนมากขึ้นหรือในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องซึ่งมักใช้ยูเรียเป็นแหล่งเสริม

                  ไนโตรเจนทดแทนไนโตรเจนบางส่วนจากโปรตีน  อาจท าให้มีก ามะถัน  เพื่อใช้ส าหรับการสังเคราะห์

                  กรดอะมิโนเมทไธโอนีน  ซีสตีนและซีสเตอีนในปริมาณจ ากัด  ดังนั้นการเสริมก ามะถันในอาหารที่มี

                  ยูเรียจะท าให้การสร้างโปรตีนของจุลินทรีย์ในร่างกายสัตว์ดีขึ้น   การเสริมก ามะถันมักจะเสริมในรูป

                  โซเดียมซัลเฟตซึ่งจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมนสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า

                  ก ามะถันในรูปแร่ธาตุอิสระ




                         ทองแดง (Copper, Cu)


                         ทองแดงเป็นแร่ธาตุที่ช่วยในการสังเคราะห์ฮีโมโมลบิน  (Haemoglobin)  โดยมีผลต่อการน าแร่

                  ธาตุเหล็กไปเป็นโครงสร้างของฮีม (Heme) และช่วยให้เม็ดเลือดแดงเจริญเต็มที่ ทองแดงยังเกี่ยวข้องกับ

                  กระบวนการ  Osteogenesis  กระบวนการปกป้องต่างๆในร่างกาย  การสร้างโปรตีนที่มีทองแดงเป็น

                  องค์ประกอบ  ทองแดงมีบทบาทในการสร้างเอนไซม์หลายชนิด  เช่น  อะมิโน  ออกซิเดส  (Amino

                  oxidase) และ ไซโตโครม ออกซิเดส (Cytochrome oxidase) เป็นต้น ทองแดงเป็นตัวช่วยในการสร้าง

                  เนื้อเยื่อที่มีความเหนียว เช่น พวกเอ็นหรือเนื้อเยื่อบุหลอดเลือดแดงที่มีความต้านทานต่อแรงดันสูง โดย

                  ที่ตับถือว่าเป็นแหล่งสะสมของทองแดงในร่างกาย

                         แร่ธาตุทองแดงจะมีความสัมพันธ์กับแร่ธาตุโมลิบดินั่ม  สังกะสีและแคดเมี่ยม  การมีแร่ธาตุ

                  เหล่านี้ในระดับสูง  จะรบกวนการดูดซึมและเมตาบอลิซึมของทองแดง  โดยการจับกับทองแดงเป็น


                  สารประกอบที่ไม่ละลายในทางเดินอาหาร  คือ  Cu-thiomolybdates  ท าให้ร่างกายได้รับทองแดงไม่
                  เพียงพอ






                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56