Page 44 -
P. 44

ิ
                                   ื
                      โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                              ิ
                                                                           ิ
                                                                 ิ
                                                ์
                                                           42

                         2.2.2  แร่ธาตุที่ไม่จ าเป็นต่อร่างกายสัตว์ (Non-essential elements)

                         เป็นแร่ธาตุที่มักพบในปริมาณน้อยมากและไม่เป็นประโยชน์ต่อตัวสัตว์และหากมีในระดับสูง

                  อาจก่อให้เกิดอาการเป็นพิษได้ด้วย ซึ่งได้แก่ อะลูมิเนียม  (Aluminium, Al)  ตะกั่ว (Lead, Pb) และ

                  ปรอท (Hg) เป็นต้น



                         2.2.3  แร่ธาตุที่เป็นพิษ (Toxic elements)


                         เป็นแร่ธาตุที่มักเกิดจากการปนเปื้อน ซึ่งถ้าหากมีในระดับสูง มักก่อให้เกิดการเป็นพิษต่อตัวสัตว์

                  โดยทั่วไปได้แก่กลุ่มโลหะหนัก เช่น แคดเมี่ยม (Cadmium, Cd) และสารหนู (Arsenic, As) เป็นต้น


                         นอกจากนี้ในเอกสารทางวิชาการอาจมีการจัดแบ่งแร่ธาตุตามปริมาณที่มีอยู่ในเนื้อเยื่อและ

                  อวัยวะ หรือแบ่งตามปริมาณความต้องการและหน้าที่ของแร่ธาตุในร่างกายสัตว์ ได้ดังต่อไปนี้คือ การ

                  แบ่งตามปริมาณที่มีอยู่ในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะและการแบ่งตามปริมาณความต้องการและหน้าที่ของแร่

                  ธาตุในร่างกายสัตว  ์


                         การแบ่งตามปริมาณที่มีอยู่ในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ ได้แก่ กลุ่มแร่ธาตุที่มีในกระดูก เช่น Ca, P,


                  Mg, และ F กลุ่มแร่ธาตุที่มีในระบบภูมิคุ้มกัน เช่น Fe, Cu, Mn และ Cr และกลุ่มแร่ธาตุที่ไม่จ าเพาะ

                  เนื้อเยื่อใดเนื้อเยื่อหนึ่ง เช่น Na, K, S, Cl


                                                                                      ์
                         การแบ่งตามปริมาณความต้องการและหน้าที่ของแร่ธาตุในร่างกายสัตว  ได้แก่  แร่ธาตุหลัก
                  (Macro element) เช่น Ca, P, K, Na, S, Cl, และ Mg และแร่ธาตุรอง (Micro elements or Trace
                  element) เช่น Mn, Fe, Cu, Zn, Mo, F, Co, I, Cr และ Se


                         แคลเซียม (Calcium, Ca)

                          แคลเซียมเป็นแร่ธาตุที่พบมากที่สุดในร่างกาย  สัตว์ที่โตเต็มที่มีแคลเซียม  3.5-4%  ของน้ าหนัก
                  แห้งของเนื้อเยื่อทั้งหมดหรือคิดเป็น 26-30% ในเถ้า โดยจะพบการสะสมแคลเซียมมากในร่างกายช่วงที่

                  มีการเจริญเติบโตและเมื่อสัตว์โตเต็มที่แล้ว การสะสมแคลเซียมจะลดลง แคลเซียมประมาณ 99% ที่พบ

                  ในร่างกายทั้งหมดจะอยู่ในรูปแคลเซียมฟอสเฟต  เช่น  ในไก่ไข่ที่ให้ผลผลิตไข่ได้สูงประมาณ  300-320
                  ฟอง/ปี  จะมีความต้องการแคลเซียมจ านวนมากเพื่อใช้ในการสร้างเปลือกไข่  โดยปกติกระบวนการสร้าง

                  ไข่ที่มีน้ าหนัก 60 กรัม ไก่ไข่จะมีความต้องการแคลเซียมประมาณ 2.4 กรัม เพื่อใช้ในกระบวนการสร้าง







                   บทที่ 1   บทบาทและความส าคัญของอาหารสัตว์ต่อการผลิตปศุสัตว์
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49