Page 55 -
P. 55

ิ
                                                                   ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                 ื
                                                                              ิ
                                    ิ
                                                ์

           เอนไซมบีตา-1,3-กลูคาเนสและไคทิเนส นอกจากนั้นยังพบการสรางไซเดอโรฟอร รวมทั้งสามารถ

           สลายฟอสเฟต (phosphate solubilization) และเหล็กออกไซด (zinc oxide solubilization)

                                                                                                           ่
           สำหรับ K. ohmeri กลไกการยับยั้งรากอโรคพืชเกิดจากการสรางสารประกอบอินทรียระเหยงาย ซึง
           สวนใหญ คือ 3-เมทิล-1-บิวทานอล การสรางเอนไซมยอยผนังเซลลของรา คือ บีตา-1,3-

           กลูคาเนส และไคทิเนส (Khunnamwong et al. 2020) ในขณะที่ยีสตปฏิปกษ T. indica DMKU-RP31,


      บทที่ 2   T. indica DMKU-RP35 และ W. anomalus DMKU-RP25 ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญของรา
           Rhizoctonia solani สาเหตุโรคกาบใบแหงของขาว พบกลไกการเปนปฏิปกษประกอบดวยการสราง

           สารประกอบอินทรียระเหยงายที่ยังยั้ง R. solani การสรางเอนไซมยอยผนังเซลลรา และการสราง

           ไบโอฟลม (Into et al. 2020)  นอกจากนั้นพบวากลไกการเปนปฏิปกษของยีสต T. indica DMKU-

           RP31 และ W. anomalus YE-42 ตอรา C. lunata และ Helminthosporium oryzae ซึ่งเปนสาเหตุของ

           โรคกลาขาวเนา และ W. anomalus DMKU-RP04 ตอรา H. oryzae สาเหตุของโรคกลาขาวเนา คือ

           การสรางสารประกอบอินทรียระเหยงาย และการสรางไบโอฟลม (Limtong et al. 2020)

           นอกจากนั้นยังพบวา T. indica DMKU-RP31, T. indica DMKU-RP35 และ Pseudozyma hubeiensis

           YE-21 สามารถยับยั้งการเจริญของ Lasiodiplodia theobromae ราสาเหตุของโรคผลเนาที่เกิดกับ

           ผลมะมวงหลังเก็บเกี่ยว และ Papiliotrema aspenensis DMKU-SP67 สามารถยับยั้งการเจริญของ

           รา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุของโรคแอนแทร็กโนสที่เกิดกับผลมะมวงหลังเก็บเกี่ยว

           โดยสารประกอบอินทรียระเหยงายที่ยีสตเหลานี้สรางขึ้นเปนกลไกหลักในการยับยั้งการเจริญของรา

           รวมทั้งเมื่อทดลองใชเพียงสารประกอบอินทรียระเหยงายที่ยีสตปฏิปกษเหลานี้ผลิต ในการควบคุม

           โรคที่เกิดกับผลมะมวงน้ำผลไม พบวาสามารถลดความรุนแรงของโรคไดแตลดไดนอยกวาการใช              

           เซลลยีสต ซึ่งแสดงวามีกลไกอื่นรวมในการควบคุมโรคดวย (Konsue et al. 2020)

                     สารพิษคิลเลอร สารพิษหลายชนิดสามารถควบคุมโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว มีรายงานวา

           ยีสตหลายชนิดผลิตสารพิษประเภทโปรตีนที่มีฤทธิ์ในการฆาซึ่งมีความสามารถตอตานรา

           (Freimoser et al. 2019) สารพิษคิลเลอร คือ สารพิษที่มีฤทธิ์ในการฆา ทำใหยีสตที่สามารถผลิตไดมี

           ความไดเปรียบ สารพิษคิลเลอรสามารถตอตานรา รวมทั้งยีสตชนิดอื่นดวยกลไกหลายอยาง คือ

           การสลายผนังเซลล ทำลายโครงสรางของเซลล และยับยั้งการสังเคราะหดีเอ็นเอ ยีสตสายพันธุที่

           สรางสารพิษคิลเลอรชนิดนั้น จะมีความตานทานตอสารพิษคิลเลอรชนิดที่ยีสตสายพันธุนั้นสรางขึ้น

           ในขณะที่มีผลทำใหยีสตสายพันธุอื่นตาย (Mannazzu et al. 2019) สารพิษคิลเลอรนี้ใชมานาน

           ในอุตสาหกรรมการผลิตไวน โดยสารพิษคิลเลอรเริ่มตนศึกษาใน S. cerevisiae ซึ่งสามารถฆายีสต

           สปชีสอื่นที่แขงขันกับสปชีสที่ผลิตสารพิษคิลเลอร เนื่องจากสารพิษคิลเลอรนี้เปนโปรตีนธรรมชาติ

           ที่ตอตานรา เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไมเปนพิษกับสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ทนกรด (acid tolerance) และ




     46  กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60