Page 59 -
P. 59

ิ
                                                ์
                                    ิ
                                             ิ
                                 ื
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                              ิ

           เปนสิ่งจำเปนเพื่อระบุระยะที่การแขงขันเพื่อสารอาหารและพื้นที่จะมีสงผลกระทบตอการเจริญและ

           พัฒนาของเชื้อกอโรค สถานการณทั่วไป คือ การมีสารอาหารอิสระที่แผลของผลไมซึ่งเหนี่ยวนำการ

           ติดเชื้อกอโรค เนื้อเยื่อดอกไมที่อายุมากของ และเนื้อเยื่อตายที่เกิดจากเชื้อกอโรค จุลินทรียที่ใช 

           ควบคุมทางชีวภาพตองเขาไปอยูในแหลงที่อยูยอย ๆ เหลานั้นเพื่อใหมีชีวิตรอดและใชสารอาหารที่

           จำเปนแกการติดเชื้อกอโรคอยางรวดเร็ว เพื่อลดจำนวนจุลินทรียกอโรค (Köhl et al. 2019; Spadaro


      บทที่ 2   and Droby 2016)
                     กรณีการควบคุมโรคผลไมหลังเก็บเกี่ยวที่มีสาเหตุจากราโดยยีสตปฏิปกษนั้น ทั้ง

           เชื้อกอโรคและยีสตตองการสารอาหาร เชน คารโบไฮเดรต ไนโตรเจน และพื้นที่เพื่อการเขาไปอาศัย

           และเจริญ ดังนั้นการแขงขันเพื่อสารอาหารและพื้นที่จึงเปนกลไกหลักซึ่งยีสตปฏิปกษใชยับยั้ง

           เชื้อกอโรค เมื่อยีสตปฏิปกษเขาไปที่ผิวของผลไมยีสตจะเขาไปอาศัยในแผลและใชสารอาหารจนหมด
                                                                                          
           ลงอยางรวดเร็ว จำกัดการงอกและการเจริญของราที่เปนสาเหตุโรค หลังจากนั้นกลไกการควบคุม

           ทางชีวภาพอื่นนอกเหนือจากการแขงขันเพื่อสารอาหารและพื้นที่จึงเกิดขึ้น (Zhang et al. 2020)

           การใชกลไกการแขงขันนี้การปองกันแผลของผลไมจากการเขาบุกรุกของรากอโรคนั้น อธิบายไดวา

           เนื่องจากยีสตเปนจุลินทรียเซลลเดี่ยวที่สามารถเพิ่มจำนวนอยางรวดเร็วภายใตภาวะที่เหมาะสมใน

           แผลของผลไมซึ่งมีสารอาหารอุดมสมบูรณ ยีสตนอกจากจะสามารถใชคารไฮเดรตไดหลายชนิด เชน

           ไดแซ็กคาไรด มอโนแซ็กคาไรดแลว ยังใชแหลงไนโตรเจนไดหลายชนิด ยีสตปฏิปกษโดยทั่วไปจะ

           เจริญไดเร็วกวาและครอบคลุมพื้นที่ไดดีกวารา จึงสามารถใชสารอาหารไดมากกวาราโรคพืช ทำให

           รากอโรคพืชไมเจริญหรือเจริญไดนอย โดยเฉพาะในภาวะที่มีสารอาหารจำกัด เมื่อเทียบระหวาง

           คารโบไฮเดรตและไนโตรเจน ไนโตรเจนถือวาเปนปจจัยหลักที่จำกัดการเจริญของเชื้อกอโรคผลไม

           หลังเก็บเกี่ยวเพราะผลไมมีน้ำตาลอุดมสมบูรณแตมีไนโตรเจนจำกัด (Bautista-Rosales et al. 2014;

           Sharma et al. 2009; Spadaro et al. 2010; Zhang et al. 2020) การแขงขันระหวางยีสตปฏิปกษ

           Pichia guilliermondii และรากอโรค เชน P. digitatum, P. expansum, B. cinerea, Colletotrichum spp.

           ในแผลของผลไมชนิดตาง ๆ และระหวางราคลายยีสต A. pullulans และ P. expansum ในแผลของ

           ผลแอปเปลนั้น พบวาบทบาทหลักของปฏิสัมพันธการเปนปฏิปกษคือ การแขงขันเพื่อคารไฮเดรตใน

           แผลที่มีคารไฮเดรตอุดมสมบูรณรวมกับการแขงขันเพื่อแหลงไนโตรเจน เชน กรดแอมิโน ที่มีปริมาณ

           จำกัด (Köhl et al. 2019; Spadaro and Droby 2016) ยีสตปฏิปกษที่ใชกลไกการแขงขันเพื่อ

           สารอาหารในการควบคุมโรค เชน T. globosa ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญของรา Colletotrichum

           sublineolum ซึ่งเปนสาเหตุโรคในขาวฟาง โดยการแขงขันเพื่ออาหารและพื้นที่ (Rosa et al. 2010),

           Rhodotorula mucilaginosa ควบคุมราสีเทาและราสีน้ำเงิน ซึ่งเปนสาเหตุโรคหลังการเก็บเกี่ยว โดย

           การแขงขันเพื่ออาหารและพื้นที่กับเชื้อกอโรค (Li et al. 2011)




     50  กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64