Page 61 -
P. 61
ิ
์
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตามสายพันธุกลายที่ขาดความสามารถในการสังเคราะหกรดพูลเชอรริมินิกยังคงยับยั้งราเสนใย
อยางรุนแรง แสดงวากิจกรรมการตอตานราไมไดเกิดเพราะการแขงขันเพื่อธาตุเหล็กเทานั้น (Gore-
Lloyd et al. 2019; Parafati et al. 2015; Köhl et al. 2019) นอกจากนั้นยังมีรายงานวา Rhodotorula
glutinis ผลิตกรดโรโดทูรูลิก (rhodotorulic acid) ซึ่งเปนไฮดรอกซาเมตไซเดอโรฟอรซึ่งเพิ่ม
การควบคุม P. expansum (Calvente et al. 1999)
นอกจากนั้นการแขงขันเพื่อซัลเฟอรมีรายงานวาเปน กลไกการเปนปฏิปกษของยีสตเมื่อ
บทที่ 2 เร็ว ๆ นี้ โดยมีรายงานวายีสต Saccharomycopsis schoenii ขาดองคประกอบหลายองคประกอบใน
วิถีการใชซัลเฟอร (sulfur assimilation) ดังนั้นจึงตองใชเมไทโอนีนจากสิ่งมีชีวิตอื่น สวนราโรคพืช
Trichoderma spp. มีความตองแบบเดียวกัน คือ ใชเมไทโอนีนจากภายนอกเพราะสรางเองไมได
ทำใหเมไทโอนีนจึงเปนเปาหมายที่ทำใหเกิดการแขงขันสูงเพื่อสารอาหาร ดังนั้นจึงสามารถใช Sac.
schoenii เปนยีสตปฏิปกษในการควบคุมโรคพืชที่เกิดจาก Trichoderma spp. ได (Junker et al. 2019;
Freimoser et al. 2019) สำหรับการแขงขันเพื่อพื้นที่สำหรับการเจริญ การสรางไบโอฟลมของ
ยีสตปฏิปกษจัดวาเปนกลยุทธที่จำเพาะและประสพความสำเร็จสูงในการแขงขันเพื่อพื้นที่ โดย
ไบโอฟลมเปนกลุมของจุลินทรียที่มีชีวิตและเจริญบนพื้นผิวของสิ่งมีชีวิตและไมมีชวิตและมีอยูทั่วไป
ี
ในธรรมชาติ ไบโอฟลมอาจจะประกอบดวยกลุมของจุลินทรียสปชีสเดียวหรือหลายสปชีส และอาจ
ประกอบดวยสารประกอบพอลิแซกคาไรด โปรตีน และกรดนิวคลีอิก ไบโอฟลมมีสมบัติที่แตกตาง
จากเซลลอิสระมากและจัดวาเปนปจจัยสำคัญที่ทำใหเกิดความรุนแรงของจุลินทรียกอโรค แตการ
สรางไบโอฟลมบนผิวของพืชชวยปกปองพืชจากการเขาทำลายของเชื้อกอโรคไดเชนกัน (Annous et
al. 2009; Costa-Orlandi et al. 2017; Desai et al. 2014; Freimoser et al. 2019; Zhang et al. 2020)
มีรายงานหลายฉบับที่สรุปวายีสตปฏิปกษซึ่งมีความสามารถในการสรางไบโอฟลมได เจริญไดดีกวา
รากอโรค และสามารถควบคุมและยับยั้งการเจริญของราไดเชนกัน สำหรับการแขงขันเพื่อพื้นที่นี้
เมื่อทำการทดลองบนอาหารแข็งในจานเพาะเชื้อดูเหมือนจะมีบทบาทเล็กนอยในการจำกัดพื้นที่
แมนวายีสตสวนใหญเจริญดีบนอาหารแข็งในจานเพาะเชื้อแตกิจกรรมการตอตานราจะมีความ
แตกตางกันมาก นอกจากนั้นดูเหมือนวาไมมีการยับยั้งแบบจำเพาะกับสปชีส (species-specific
inhibition) และยีสตชนิดหนึ่งอาจเปนปฏิปกษตอราสวนใหญอยางรุนแรงหรืออยางออน ๆ (Hilber-
Bodmer et al. 2017) การสรางไบโอฟลมเกิดจากการตอบสนองตอปจจัยตาง ๆ รวมถึงการจดจำ
ของเซลลที่จำเพาะหรือไมจำเพาะ เมื่อเซลลอยูในภาวะการสรางไบโอฟลมเซลลจะอยูในภาวะที่ไม
เหมาะสมตอการเจริญ พฤติกรรมของเซลลจะเปลี่ยนไปเพื่อการอยูรอด การสรางเปนไบโอฟลม
เริ่มตนจากการสัมผัสของจุลินทรียอิสระกับพื้นผิว ในขั้นแรกจุลินทรียจะการยึดติดกับพื้นผิวดวยแรง
แวนเดอรวาลว ซึ่งอาจจะหลุดออกจากพื้นผิวไดทันทีเนื่องจากความไมเสถียร ในทางตรงกันขาม
52 กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย