Page 66 -
P. 66

ิ
                                 ื
                                    ิ
                                             ิ
                                                ์
                                                                   ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                ใชสวนใหญแยกจากผิวผลไม และคนไดสัมผัสกับยีสตเหลานี้เมื่อรับประทานผลไมสดและผักสดใน

                ชีวิตประจำวันอยูแลว ดังนั้นจึงนาจะมีความกังวลนอยเกี่ยวกับความปลอดภัย อยางไรก็ตามยีสต

                บางชนิดอาจจะเปนสาเหตุของการเกิดโรคในบางภาวะ (Droby 2006; Opulente et al. 2019; Zhang

                et al. 2020) ดังนั้นความปลอดภัยทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษ รวมทั้งการระคายเคืองตอผิวหนัง

                และการบริโภคจำเปนตองมีการประเมินอยางเต็มที่ การจดทะเบียนยังเปนอุปสรรคตอการคาใน

                ยีสตปฏิปกษหลายชนิด ตัวควบคุมทางชีวภาพตองไดรับการอนุมัติจากหนวยงานกำกับดูแลที่

                เกี่ยวของกอนการนำไปใชในเชิงพาณิชย เมื่อเปรียบเทียบกับสารเคมีฆาราการจดทะเบียนมีราคาต่ำ               บทที่ 2

                กวาและใชเวลานอยกวาแตยังคงเปนปจจัยที่ตองพิจารณาในการพัฒนา การจดทะเบียนของยีสต

                ปฏิปกษตองมีรายงานการประเมินความปลอดภัยที่ไดรับการรับรองและประสิทธิภาพการควบคุม

                ทางชีวภาพที่ไดรับการรับรอง นอกจากนั้นความยากของการจดทะเบียนแตกตางกันในแตละ

                ประเทศในแตละภูมิภาค สำหรับสหรัฐอเมริกาการจดทะเบียนของตัวควบคุมทางชีวภาพใชเวลา

                เฉลี่ย 2 ป ในขณะที่ในสหภาพยุโรปใชเวลาประมาณ 7 ป (Nunes 2012) สวนในสาธารณรัฐ

                ประชาชนจีน ดวยแรงจูงใจจากรัฐบาลใชเวลาประมาณ 2-3 ป เมื่อเทียบกับสารเคมีฆารา ยีสต

                ปฏิปกษยังจำเปนตองปรับปรุงในหลายดานที่จำกัดการนำไปสูการคาและการยอมรับของตลาด

                ยีสตปฏิปกษมีราคาแพงกวาสารเคมีฆาราและการใชไมสะดวก สำหรับตัวควบคุมทางชีวภาพใน

                อุดมคติสำหรับโรคหลังเก็บเกี่ยวของผลไมและผักตองมีประสิทธิภาพสูงกวา 95 เปอรเซ็นต

                                                                                                
                (Sharma et al. 2009) อยางไรก็จากรายงานวิจัยจนถึง ค.ศ. 2020 แสดงวาการใชยีสตปฏิปกษอยาง
                เดียวไมสามารถควบคุมไดดีเทากับการใชสารเคมีฆารา นอกจากนั้นประสิทธิภาพการควบคุมของ

                ยีสตปฏิปกษในโรคหลังเก็บเกี่ยวขึ้นอยูกับกิจกรรมและความสามารถในการเพิ่มจำนวนของยีสต ทำ

                ใหมีปญหาที่เกี่ยวของการใชยีสตปฏิปกษหลายชนิด เชน กิจกรรมการตอตานราไมคงที่ อายุการเก็บ

                รักษาสั้น เงื่อนไขในการจัดเก็บที่เขมงวด (Zhang et al. 2020)



                การพัฒนาสูตรของตัวควบคุมทางชีวภาพที่มีประสิทธิภาพ


                          โดยทั่วไปสูตรของผลิตภัณฑควบคุมทางชีวภาพประกอบดวยจุลินทรียปฎิปกษเปน

                ตัวออกฤทธิ์ วัสดุ พาหะ และตัวเสริม (adjuvant) ในรูปของสารอาหารและสารประกอบที่เพิ่ม

                                                                                                                
                การอยูรอดของจุลินทรียปฎิปกษ และเพื่อสงเสริมการปองกันจุลินทรียปฎิปกษจากภาวะความเคน
                จากสิ่งแวดลอม (Droby et al. 2016) สูตรของผลิตภัณฑควบคุมทางชีวภาพควรเปนไปตามเกณฑที่

                กำหนดเพื่อที่จะประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชยภายใตสภาพแวดลอมที่หลากหลาย ประกอบดวย

                (1) การปรับปรุงและการเพิ่มประสิทธิภาพของการควบคุมทางชีวภาพในเชิงพาณิชย (2) การเก็บ

                รักษาประชากรเซลลที่มีชีวิตในสูตร (3) การยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑอยางนอย 6




                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม      57
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71