Page 69 -
P. 69
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
ิ
ิ
Metschnikowia fructicola
ในบรรดาสปชีสตาง ๆ ของสกุล Metschnikowia นั้น M. fructicola และ M. pulcherrima มี
การศึกษามากเกี่ยวกับการควบคุมทางชีวภาพและพบวาสามารถยับยั้งโรคหลังการเก็บเกี่ยวและ
โรคเนาของพืชไดหลากหลาย (Hilber-Bodmer et al. 2017; Parafati et al. 2015; Turkel et al. 2014)
กิจกรรมตอตานราที่รุนแรงของยีสต Metschnikowia spp. เกี่ยวของกับกลไกหลายอยางตั้งแต
บทที่ 2 การแขงขันเพื่อสารอาหารและพื้นที่ การสรางและหลั่งเอนไซมกลูคาเนสและไคทิเนส และการสราง
สารอินทรียระเหยงาย (Banani et al. 2015; Dhami et al. 2016; Gore-Lloyd et al. 2019; Zajc
et al. 2019; 2020) สำหรับผลิตภัณฑที่พัฒนาและจดทะเบียนจาก M. fructicola คือ Shemer® ผลิต
ุ
จาก M. fructicola NRRL Y-30752 ซึ่งแยกในสาธารณรัฐอิสราเอลและพัฒนาเปนผลิตภัณฑควบคม
ทางชีวภาพสำหรับโรคพืชและโรคหลังเก็บเกี่ยวของผลไมและผักหลายชนิด โดยเฉพาะมันเทศและ
แครอท Shemer® ผลิตโดย Bayer CropScience สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี และตอมาขาย
ใบอนุญาตสำหรับการผลิตให Koppert Biological Systems ประเทศเนเธอรแลนด เพื่อเพิ่มการผลิต
และจำหนาย เมื่อไมนานมานี้ Shemer® ไดจดทะเบียนเปนสารควบคุมทางชีวภาพของรากอโรคใน
ผลไมเมล็ดแข็ง (stone fruit) สตรอเบอรี และองุน โดย European Food Safety Authority (EFSA)
(Blachinsky et al. 2007; Droby et al. 2016; Freimoser et al. 2019; Wisniewski and Droby 2012)
Saccharomyces cerevisiae
สำหรับ S. cerevisiae เปนที่รูกันดีวาเปนจุลินทรียที่ใชเปนแบบจำลองสำหรับการศึกษา
ชีววิทยาของเซลล การใชทางดานเทคโนโลยีชีวภาพ และที่สำคัญที่สุดคือการประยุกตใชในการผลิต
อาหารและเครื่องดื่ม สวนที่สนใจในเรื่องการควบคุมทางชีวภาพอาจเปนเพราะ S. cerevisiae เปน
จุลินทรียที่ปลอดภัยที่สามารถจดทะเบียนไดงาย เมื่อเปรียบเทียบยีสตซึ่งแยกไดจากธรรมชาติ โดย
มีรายงานวา S. cerevisiae BY4741 มีกิจกรรมการตอตานราในระดับปานกลาง (Hilber-Bodmer
et al. 2017) มี S. cerevisiae หลายสายพันธุที่พบวายับยั้งการเจริญของรากอโรคพืช เชน Aspergillus
carbonarius, A. ochraceus, A. parasiticus, Fusarium graminearum และยังยับยั้งการผลิตสารพิษ
ที่ผลิตจากราเหลานี้ดวย เชน แอฟลาท็อกซิน (aflatoxin) โอคราท็อกซิน เอ (ochratoxin A)
ซีราลีโนน (zearalenone) ดีออกซีนิวาลีนอล (deoxynivalenol) กิจกรรมกำจัดสารพิษจากราเกิด
จากการดูดซับ (adsorption) กับผนังเซลลของ S. cerevisiae การตอบสนองตอสารพิษ เชน
การเปลี่ยนองคประกอบของเยื่อหุมเซลลตามดวยการสัมผัสกับสารพิษจากรา (Armando et al.
2012a; 2012b; 2013; Cubaiu et al. 2012; Oporto et al. 2019) กลไกการควบคุมทางชีวภาพอื่นที่
พบใน S. cerevisiae คือ กิจกรรมของสารพิษคิลเลอร เอนไซมยอยผนังเซลลรา และสารอินทรีย์
60 กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย