Page 65 -
P. 65

ิ
                                             ิ
                                 ื
                                                ์
                                                                   ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                              ิ

                     ยีสตปฏิปกษที่เหนี่ยวนำความตานทานของพืช เชน Macarisin et al. (2010) พบวาใน C.

           oleophila การเหนี่ยวนำความตานทานที่เปนระบบเกิดจากการสรางอนุมูลอิสระในพืชปริมาณมาก

           Luo et al. (2012) รายงานวาการเกิดโรคและขนาดแผลบนผลสมลดลง เมื่อเพาะยีสต P.

           membranaefaciens หรือแชผลสมในเซลลแขวนลอยของยีสตชนิดนี้ โดยพบวามีสารประกอบ

           ฟลนอล (phenolic compound) และฟลาโวนอยด (flavonoid compound) เพอรออกซิเดส พอลิ-


      บทที่ 2   ฟนอลออกซิเดส ฟนิลอะลานีนแอมโมเนียไลเอส ไคทิเนส และบีตา-1,3-กลูคาเนสเพิ่มขึ้น Lu et al.
           (2013a, b) รายงานความสามารถในการกระตุนความตานทานของผลสมแมนดารินโดย R.

           paludigenum จากการสรางเอนไซมหลายชนิด เชน บีตา-1,3-กลูคาเนส ฟนิลอะลานีนแอมโมเนีย-

           ไลเอส เพอรออกซิเดส ออกมาทำลายรา Penicillium digitatum ซึ่งเปนสาเหตุโรคได เชนเดียวกับ

           ยีสตปฏิปกษ P. membranifaciens ซึ่งสามารถกระตุนใหผลทอตานทานโรคโดยการสรางเอนไซมที่

           กลาวมาขางตน (Cao et al. 2010) สวน Xu et al. (2013) ประเมินความสามารถของ Mey. caribbica

           ในการตอตาน Rhizopus stolonifera บนผลทอโดยการวัดกิจกรรมของเอนไซมเพอรออกซิเดส

           คาทาเลส และฟนิลอะลานีนแอมโมเนียไลเอส พบวาเอนไซมเหลานี้เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญ

           เมื่อเทียบกับผลทอควบคุม



           ขอจำกัดในการใชยีสตปฏิปกษ


                     ยีสตที่มีสมบัติตอตานรามีการศึกษามานานกวา 2 ทศวรรษ แตมีเพียงไมกี่ชนิดที่พัฒนา

           เปนผลิตภัณฑตอตานราในเชิงพาณิชย ยีสตปฏิปกษที่ใชควบคุมทางชีวภาพที่รายงานในผลงาน

           ตีพิมพในวารสาร และผลิตภัณฑยีสตที่ใชในการควบคุมทางชีวภาพที่มีการจดทะเบียนและจำหนาย

           ในเชิงพาณิชย มีความแตกตางอยางกันมาก เนื่องจากความจริงที่วานอกเหนือจากตองมี

           ประสิทธิภาพการควบคุมทางชีวภาพที่ดีมากแลว สำหรับการใชในเชิงพาณิชยจำเปนตองมีสิ่งอื่น ๆ

           ประกอบ ปจจัยหลายอยางจำกัดการพัฒนาและการใชเชิงพาณิชยของยีสตปฏิปกษ เชน การขาด

           ความเขาใจดานกลไก อุปสรรคและคาใชจายในการจดทะเบียน การขาดคูคาหรือกลุมที่มี

           ความเชี่ยวชาญที่จำเปน ศักยภาพทางการคาที่มีนอย รวมทั้งเทคโนโลยีที่ยังไมไดพัฒนาอยางเต็มที่

           ตนทุนการพัฒนาสูง ตลาดสำหรับพืชและผลไมหลังเก็บเกี่ยวมีขนาดเล็ก การยอมรับของตลาดต่ำ

           นอกจากนั้นการใชยีสตปฏิปกษสำหรับการควบคุมทางชีวภาพของโรคหลังเก็บเกี่ยวเปน

           อุตสาหกรรมเกิดใหม การวิจัยเกี่ยวกับยีสตปฏิปกษยังไมพอเพียง แมนวากลไกการควบคุมทาง

           ชีวภาพของยีสตปฏิปกษมีการรายงานมาก แตกลไกที่จำเพาะจำเปนตองทำใหมีความชัดเจนมาก

           ยิ่งขึ้น (Droby 2006; Droby et al. 2009; Freimoser et al. 2019: Zhang et al. 2020) ความปลอดภัย

           ทางชีวภาพเปนเหตุผลสำคัญสำหรับการใชยีสตปฏิปกษแทนสารเคมีฆารา ยีสตปฏิปกษสวนใหญที่




     56  กลไกการควบคุมทางชีวภาพของยีสตปฏิปกษและการใชยีสตปฏิปกษในเชิงพาณิชย
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70